Page 41 -
P. 41

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                               ์
                                  ิ
                                                                             ิ

                                                         บทที่ 4
                                             การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตกระบือ


                     ิ่
                                                               ี่
               การเพมประสิทธิภาพการเลี้ยงกระบือปลักไทยมีปัจจัยที่เกยวข้องหลายประการ ประกอบด้วย
                                        ั
                                   ่
                                                                              ั
                                 ์
                       1. พันธุ์สัตว พอแม่พนธุ์ที่เลี้ยงควรมีขนาดใหญ่  ลักษณะตรงตามพนธุ์ มีความสวยงามตามแบบฉบับ
                                                     ื่
                                  ั
               กระบือปลักไทย แม่พนธุ์ควรมีอายุ 5-7 ปี เพอให้สามารถผลิตน้ านมเลี้ยงลูกได้จ านวนมาก ท าให้ลูกกระบือ
               เจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว เมื่อถึงระยะหย่านมจะมีน้ าหนักได้ตามมาตรฐานที่ก าหนด หากน้ าหนักตัวแม่
               กระบือหลังคลอดเกิน 600 กิโลกรัม และได้รับการดูแลอย่างดีในช่วงหลังคลอด ลูกกระบือจะมีน้ าหนักหย่านม
               ได้ประมาณ 200-250 กิโลกรัม และหากได้รับการเลี้ยงดูดีอย่างต่อเนื่องเมื่ออายุ 1 ปีจะมีน้ าหนักประมาณ
               350-400 กิโลกรัม ส่วนแม่กระบือหลังคลอดหากได้รับการดูแลอย่างดีต่อเนื่องมาตั้งแต่ช่วงก่อนคลอดจะ
                                                                                                       ั
               สามารถกลับสัดพร้อมผสมพันธุ์ได้ช่วงหลังคลอดประมาณ 45-60 วัน ถ้าได้รับการผสมพันธุ์และอุ้มท้องแม่พนธุ์
               จะสามารถให้ลูกตัวต่อไปห่างจากตัวก่อน (calving interval) เพยง 12-13 เดือนเท่านั้น จุดส าคัญคือแม่พนธุ์
                                                                                                       ั
                                                                     ี
               ต้องมีสภาพร่างกายที่สมบูรณ์ตลอดช่วงเวลาดังกล่าว
                       2. อาหารสัตว ที่สมบูรณ์เพยงพอกับความต้องการ เนื่องจากต้นทุนส่วนใหญ่ 50-70 เปอร์เซ็นต์มา
                                   ์
                                              ี
                                                                 ั
               จากค่าอาหาร ดังนั้นปัจจัยด้านอาหารจึงมีความส าคัญเป็นอนดับต้น ๆ ของการผลิต ความเข้มข้นของโภชนะ
               ในอาหารของกระบือแต่ละระยะ และแต่ละสภาพร่างกายจะแตกต่างกัน เป้าหมายที่ส าคัญของการให้อาหาร
                                                                                                  ี
                                                                        ื่
               เพอให้กระบือมีสภาพร่างกายเหมาะสมตามระยะการผลิต เหนือสิ่งอนใดกระบือต้องได้รับโภชนะเพยงพอกับ
                 ื่
                                       ั
                                                                                                     ่
               ความต้องการเริ่มตั้งแต่แม่พนธุ์กระบือได้รับการผสมพนธุ์เมื่อผสมติดแล้ว ระยะแรกของการตั้งท้องลูกออนใน
                                                            ั
               ท้องมีการเจริญเติบโตอย่างช้า ๆ มีการพัฒนาให้มีอวัยวะครบถ้วนแต่ยังมีขนาดเล็ก ดังนั้นแม่กระบืออุ้มท้องจึง
               ต้องการอาหารไม่มากนัก ควรเอาใจใส่ดูแลอย่าให้ร่างกายมีสภาพผอม (คะแนนสภาพร่างกาย 1.5-2.0) ซึ่ง
               แสดงว่าแม่กระบือจะได้รับอาหารไม่เพยงพอ แต่ควรให้มีสภาพร่างกายปานกลาง (คะแนนสภาพร่างกาย 2.5-
                                               ี
               3.5) โดยเมื่อมองจากภายนอกจะสังเกตเห็นเพยงซี่โครงรางๆ  เท่านั้น อาหารที่ควรได้รับในช่วงดังกล่าวได้แก่
                                                      ี
                                          ี
               หญ้าสด น้ า และแร่ธาตุอย่างเพยงพอ อาจเสริมฟางข้าวหรือฟางหมักยูเรีย ในช่วงเวลาเช้าหรือเย็นตามสภาพ
               ร่างกายที่เป็นอยู่ ในสภาพท้องที่ชนบทอาจเสริมฟางแห้งร่วมกับร าข้าวหรือใบพืชตระกูลถั่วบดหยาบผสมกับร า
               ข้าว นอกจากนี้อาจใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น เช่น ฝักจามจุรี เป็นต้น เสริมในช่วงเช้า-เย็นก็ยิ่งท าให้สภาพ
               ร่างกายสมบูรณ์เร็วขึ้น เมื่อแม่กระบือเข้าสู่ช่วงสุดท้ายของการอุ้มท้อง (3 เดือนก่อนคลอด) ลูกในท้องจะมีการ

               เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว มีการเพิ่มขนาดและน้ าหนักตัว ดังนั้นแม่กระบือจะต้องการโภชนะจากอาหารจ านวน
               มาก หากได้รับอาหารไม่เพยงพอ น้ าหนักตัวแม่กระบือจะลดลงโดยเร็ว ดังนั้นแม่กระบือในช่วงดังกล่าวจะมี
                                      ี
                                                                             ื่
               ความต้องการอาหารมากขน ขณะเดียวกันแม่กระบือต้องสะสมอาหารไว้เพอสร้างน้ านมให้ลูกในช่วงหลังคลอด
                                     ึ้
               ด้วย  ซึ่งจะสังเกตเห็นว่าแม่กระบือช่วงดังกล่าวจะกินอาหารไม่เลือก และกินอาหารได้มากกว่าปกติ ควรสังเกต
                                                                                                  ้
               สภาพร่างกายอย่างใกล้ชิด ระดับคะแนนร่างกายที่เหมาะสมคือ 4.0-4.5 (อวนจนถึงค่อนข้างอวนมาก)
                                                                                  ้
               ช่วงเวลาดังกล่าวควรเพิ่มอาหารเสริมให้มากขึ้น ตามสภาพร่างกายที่เป็นอยู่  รวมทั้งดูแลเรื่องน้ าและแร่ธาตุให้
               เพียงพอ เนื่องจากในเขตร้อนชื้นอาหารหยาบส่วนใหญ่เป็นหญ้าธรรมชาติ ซึ่งมีโปรตีนต่ าท าให้การเจริญเติบโต
                                                                         ั
                     ิ่
               และเพมจ านวนเซลล์ของจุลินทรีย์อยู่ในระดับต่ า ส่งผลให้กระบือมีอตราการเจริญเติบโตต่ าไปด้วย ดังนั้นจึง
                     ิ่
                                                                       ื
               ควรเพมอาหารเสริมโปรตีนให้มากขึ้น เช่น ฟางหมักยูเรีย หรือใบพชตระกูลถั่วในท้องถิ่นบดหยาบผสมร าข้าว
                                           ิ่
               จะช่วยให้กระบือได้รับโภชนะเพมขึ้น เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวมีความส าคัญค่อนข้างสูง การเมินเฉยใน
               ช่วงเวลาดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อช่วงการผลิตต่อไปเรื่อย ๆ ไม่มีที่สิ้นสุด ดังนั้นต้องดูแลอย่างต่อเนื่องเพอ
                                                                                                        ื่
               ให้ผลที่ตามมามีประสิทธิภาพสูงสุด และเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ตามธรรมชาติที่เป็นอยู่ ลดความสูญเสีย
               ที่อาจเกิดขึ้นในช่วงระหว่างการเลี้ยงให้เหลือน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เมื่อถึงช่วงเวลาคลอดลูก แม่กระบือ


                       ื
               34 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46