Page 46 -
P. 46
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
์
ิ
พฒนามาแล้ว และมีขนาดใหญ่กว่ากระบือสาว รวมทั้งมีความสามารถในการเลี้ยงลูกได้ดีกว่านั่นเอง ควรมี
ั
ิ
ั
ลักษณะตรงตามพนธุ์ มีโครงสร้างใหญ่ อายุที่เหมาะสมประมาณ 6-10 ปีจะพจารณาได้อย่างชัดเจน กระบือ
ควรมีคุณลักษณะเชื่อง เลี้ยงง่าย กินอาหารไม่เลือก คุณสมบัติดังกล่าวจะท าให้การจัดการฝูงผสมพันธุ์ง่ายขึ้น
ั
3.4 การจัดการฝูงท้อง แม่พนธุ์อมท้องในช่วงแรกควรเลี้ยงไปตามปกติ ไม่ต้องเสริมอาหารใด ๆ
ุ้
ุ้
เป็นพเศษ จนกระทั่งอมท้องได้ประมาณ 6 เดือน จะสังเกตเห็นการกินอาหารเพมขึ้นมากกว่าปกติ กินอาหาร
ิ่
ิ
ไม่เลือก ท้องส่วนหลังด้านขวาของล าตัวเริ่มหย่อนยาน แสดงถึงการเจริญเติบของลูกในท้องอย่างรวดเร็ว ซึ่ง
ตรงกับช่วงเวลาหย่านมลูกตัวที่ผ่านมา สภาพร่างกายแม่กระบือจะเตรียมตัวรับการคลอดลูกตัวใหม่ เริ่มมีการ
ั
้
พฒนาของเต้านมชุดใหม่ ร่างกายแม่จะเริ่มอวนมากขึ้นตามปริมาณอาหารที่ได้รับ คะแนนสภาพร่างกายที่
เหมาะสมในช่วงนี้คือ 4.0-4.5 เพื่อสะสมอาหารให้เพียงพอกับความต้องการในการสร้างน้ านมเลี้ยงลูกช่วงหลัง
คลอด ระยะ 1-2 เดือนก่อนคลอด หากสภาพร่างกายยังไม่เหมาะสม อาจต้องเพมอาหารให้มากขึ้นเป็น 2
ิ่
่
ื่
เท่าของปริมาณอาหารปกติ เพอให้ทั้งลูกออนในท้องและตัวแม่เองได้รับอาหารอย่างเพยงพอ ซึ่งจะส่งผลต่อ
ี
สภาพร่างกายแม่ในช่วงหลังคลอด และการผลิตน้ านมเลี้ยงลูกเพียงพอ ท าให้ลูกกระบือหลังคลอดได้รับน้ านม
จากแม่ปริมาณมากด้วย สภาพร่างกายแม่กระบือหลังคลอดที่ยังสมบูรณ์อยู่ส่งผลให้เป็นสัดหลังคลอดเร็วขึ้น
และผสมติดหลังคลอดได้เร็ว ช่วงห่างการตกลูกจะสั้นลง อาจเหลือเพยง 12-13 เดือน มีแม่กระบือบางตัวมี
ี
ระยะห่างการให้ลูกเพยง 351 วันเท่านั้น ค่าเฉลี่ยทั่วไปอยู่ในช่วง 370-400 วัน จึงจะถือว่ามีประสิทธิภาพใน
ี
การสืบพันธุ์สูง แม่กระบือสามารถให้ลูกได้ปีละ 1 ตัว โดยมีช่วงท้องว่าง (service period) อยู่ประมาณ 45-60
วัน หรืออย่างมากไม่ควรเกิน 100 วัน ซึ่งส่งผลมาจากสภาพร่างกายแม่กระบือที่มีความสมบูรณ์ในช่วงหลัง
ั
คลอด ท าให้ระบบสืบพนธุ์กลับคืนสู่สภาพเดิมได้เร็ว และสามารถท าหน้าที่ได้เร็ว ดังนั้นการจัดการด้านอาหาร
มีความส าคัญอย่างมากต่อประสิทธิภาพการสืบพนธุ์ ซึ่งจะมีผลต่อสภาพร่างกายของแม่กระบือในระยะต่าง ๆ
ั
ตั้งแต่ระยะก่อนคลอด หลังคลอด 1-2 เดือน ระยะก่อนหย่านม และหลังหย่านมลูกกระบือ ซึ่งเป็นเป้าหมาย
ส าคัญที่ต้องควบคุมให้เป็นไปตามระบบให้ได้ เพอให้กระบือสามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้เต็มที่อย่าง
ื่
ต่อเนื่อง หากเกิดปัญหาใดอนเป็นสาเหตุให้การเจริญเติบโตหรือการให้ผลผลิตหยุดชะงัก ต้องค้นหาสาเหตุให้
ั
ื่
พบ และท าการแก้ไขปัญหาดังกล่าวให้หมดไป เพอให้การเลี้ยงกระบือซึ่งเป็นสัตว์ประจ าถิ่น ในเขตร้อนชื้น
อย่างประเทศไทย สามารถพัฒนาเพิ่มจ านวนประชากรมากขึ้นเรื่อย ๆ และคงอยู่ตลอดไป
ั
3.5 การจัดการกระบอพ่อพันธุ์ ลูกกระบือเพศผู้ที่เกิดจากพอพนธุ์ดี มีลักษณะตรงตามพันธุ์ และ
ื
่
่
ั
เกิดจากแม่พันธุ์ที่มีลักษณะดี มักจะถูกคัดเลือกไว้ท าพอพนธุ์ในอนาคต ลักษณะทั่วไปที่ใช้ในการพิจารณาได้แก่
น้ าหนักแรกเกิด ความสูง/ความยาวล าตัว เท้าและขายาวใหญ่ น้ าหนักแรกคลอดไม่ควรต่ ามากเกินไป หากแม่
กระบืออุ้มท้องได้รับการดูแลเป็นอย่างดี ลูกกระบือจะมีน้ าหนักแรกเกิดประมาณ 30-40 กิโลกรัม ในช่วงเดือน
แรกหลังคลอดลูกกระบือจะดูดกินนมแม่เพียงอย่างเดียว ท าให้สามารถมีอัตราการเจริญเติบโตได้ถึง 800-1000
ื่
กรัมต่อวัน ช่วงอายุดังกล่าวควรท าการถ่ายพยาธิครั้งแรก เมื่ออายุ 2 เดือนลูกกระบือจะเริ่มกินอาหารอน
ได้มากขึ้น เริ่มแทะเล็มหญ้าสดหรืออาหารข้นตามอย่างที่แม่กระบือกินได้ สิ่งที่สังเกตได้จากภายนอกคอ มูลลูก
ื
ี
กระบือเริ่มเปลี่ยนเป็นสีออกเขยวตามชนิดของอาหารที่กิน ควรท าการถ่ายพยาธิซ้ าอีกเมื่ออายุ 4 เดือน ซึ่งเป็น
ื่
ั
ช่วงที่กระเพาะหมักเริ่มพฒนามากขึ้นเพอหมักย่อยอาหารหยาบ แต่ยังมีความสามารถต่ ากว่ากระบือโตเต็มวัย
ื่
เนื่องจากกระเพาะยังมีขนาดเล็กนั่นเอง จึงยังต้องการน้ านมจากแม่เพอการเจริญเติบโต เมื่ออายุ 4-6 เดือน
กระเพาะหมักจะสามารถท าหน้าที่ได้ประมาณ 70-80 เปอร์เซ็นต์ของกระบือโตเต็มวัย กระเพาะหมักจะเจริญ
ั
พฒนาไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะถึงระยะหย่านม ซึ่งเป็นระยะที่ต้องกินอาหารหยาบได้เองโดยไม่ต้องอาศัยน้ านม
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 39