Page 49 -
P. 49
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
์
ิ
ิ
บทที่ 5
์
ระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตวที่เหมาะสม (GFM)
ฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม (Good Farming Management ; GFM)
หมายความว่า ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ที่ยกระดับการเลี้ยง การจัดการให้มีความปลอดภัยทางชีวภาพ ระบบ
การบันทึกข้อมูล การพัฒนาคุณภาพผลผลิต เพื่อให้ได้ปศุสัตว์และผลผลิตที่มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค
ผู้ขอรับการรับรอง ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
1. เป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์รายครัวเรือน จากกรมปศุสัตว์
2. ไม่เป็นผู้ถูกเพิกถอนการรับรอง เว้นแต่เคยถูกเพิกถอนการรับรองมาแล้วมากกว่า ๒ ปี
3. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านปศุสัตว์ หรือหลักสูตรฟาร์มที่มีระบบ
การป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมจากกรมปศุสัตว์ หรือได้รับค าแนะน าจากที่ปรึกษาของเกษตรกร
4 ด าเนินการพัฒนาสถานที่เลี้ยงสัตว์ให้เป็นไปตามค าแนะน าของที่ปรึกษาของเกษตรกร
ที่ปรึกษาของเกษตรกร ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
1. เป็นเจ้าหน้าที่ของส านักงานปศุสัตว์อ าเภอ หรือบุคคลที่กรมปศุสัตว์มอบหมาย
2. ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรที่ปรึกษา หรือหลักสูตรผู้ตรวจประเมินการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
ด้านปศุสัตว์
ที่ปรึกษาของเกษตรกรมีอ านาจหน้าที่ ดังนี้
1. ประชาสัมพันธ์ อบรมและให้ค าแนะน าระบบการป้องกันโรค การจัดการเลี้ยงสัตว์และการปฏิบัติใน
กระบวนการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสมให้เกษตรกรในพื้นที่
2. ขึ้นทะเบียนเกษตรกรที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีด้านหรือหลักสูตรฟาร์ม
ที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม หรือผู้ที่ได้รับค าแนะน าจากที่ปรึกษาของเกษตรกร
3. ติดตาม ให้ค าปรึกษา และประเมินสถานที่เลี้ยงสัตว์เบื้องต้นให้กับผู้ขอรับการรับรอง
การอบรมและให้ค าปรึกษา
ั
ที่ปรึกษาของเกษตรกร ประชาสัมพนธ์ อบรม และให้ค าแนะน าระบบการป้องกันโรค การจัดการเลี้ยงสัตว์
และการปฏิบัติในกระบวนการรับรองฟาร์มที่มีระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม ให้เกษตรกร
ในพื้นที่ โดยเนื้อหาในหลักสูตรการฝึกอบรมมีรายละเอียด ตังนี้
1. ภาพรวมระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม(GFM)
สิทธิประโยชน์ที่เกษตรกรผู้เลี้ยงกระบือจะได้รับ
- สามารถเข้าหลักเกณฑ์การรับรองและรักษาสถานภาพฟาร์มปลอดโรคปากและเท้าเปื่อย
- กระบือส าหรับท าพนธุ์สามารถเข้าหลักเกณฑ์การรับรองและรักษาสถานภาพฟาร์มปลอดโรค
ั
บรูเซลลา วัณโรค และพาราทูเบอร์คูโลซิส
2. ข้อก าหนดการปฏิบัติตามระบบการป้องกันโรคและการเลี้ยงสัตว์ที่หมาะสม(GFM) ในหัวข้อดังนี้
1) พื้นที่เลี้ยงและโครงสร้าง
ื
42 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ