Page 44 -
P. 44

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์


               ลูกกระบือหย่านมไปเลี้ยงต่างหาก มีอาหารเสริมในช่วงเวลาเช้า-เย็นจะท าให้ลูกกระบือหย่านมเจริญเติบโตเร็ว
               ขึ้น เนื่องจากกระบือในช่วงอายุ 1-2 ปี จะมีอัตราการเจริญเติบโตสูงที่สุดของช่วงชีวิต หากดูแลแม่กระบือหลัง

               คลอดให้มีสภาพร่างกายสมบูรณ์มาโดยตลอด  แม่กระบือจะกลับสัดช่วงหลังคลอด 45-60 วัน หรืออย่างช้าไม่
                                           ั
               เกิน 100 วัน เมื่อได้รับการผสมพนธุ์และอมท้อง จะมีช่วงห่างการตกลูก (calving interval) ประมาณ 13-14
                                                  ุ้
               เดือนเท่านั้น แม่กระบือบางตัวสามารถกลับหลังคลอดได้เร็วกว่านี้ แต่เนื่องจากการกลับคืนสู่สภาพเดิมของ
                                                                                   ู่
               มดลูกยังไม่สมบูรณ์ หากมีการผสมติด ตัวออนก็ไม่สามารถฝังตัวได้ ปกติการเข้าอของมดลูกใช้เวลาประมาณ
                                                   ่
                                                                                  ุ้
               45 วัน  ดังนั้นควรปล่อยให้แม่กระบือกลับสัดในรอบต่อไป การผสมติดและการอมท้องจะเกิดขึ้นตามมา การ
               อมท้องในครั้งนี้เกิดขึ้นพร้อมกับการสร้างน้ านมเลี้ยงลูกตัวที่ผ่านมา แม่กระบือที่ได้รับการผสมพนธุ์หลังคลอด
                 ุ้
                                                                                              ั
               ต้องได้รับการดูแลอย่างดี ไม่ให้กระทบกระเทือนอย่างรุนแรง เพื่อให้การฝังตัวของตัวอ่อนในมดลูกเป็นไปอย่าง
                                      ่
               สมบูรณ์ ขณะเดียวกันลูกออนหลังคลอดอายุ 1-3 เดือนจะมีอตราการตายสูงมาก ควรดูแลระมัดระวังอย่าง
                                                                   ั
               ใกล้ชิด สาเหตุส่วนใหญ่มาจากโรคท้องเสีย จากเชื้อซาลโมเนลลา หรืออโคไล ควรเฝ้าระวังสังเกตการ
                                                                               ี
               เปลี่ยนแปลงดังกล่าว หากพบว่ามูลลูกกระบือเหลวมาก สีออกเหลืองครีม มีกลิ่นเหม็นมาก ต้องท าการรักษา
               โดยเร็วก่อนที่ลูกกระบือจะมีอาการหนักมากกว่านี้ ยาปฏิชีวนะที่แนะน าได้แก่ ออกซีเตตร้าซัยคลีน หรือซัลฟา
               ไตรเมโทรปรีม เป็นต้น รวมทั้งคอยติดตามอาการอย่างใกล้ชิด หากปล่อยให้อาการหนักโอกาสการหายกลับคืน

               สู่ปกติจะน้อยมาก การสูญเสียลูกกระบือส่วนใหญ่เกิดจากการปล่อยให้เกิดอาการหนักแล้วค่อยท าการรักษา
               ซึ่งมักจะไม่ได้ผล


                                           ื
                         3.2 การจัดการกระบอรุ่นหลังจากหย่านม  อายุ 8 เดือนขึ้นไป หากได้รับการเลี้ยงดูแลดีมาตั้งแต่
               ต้น เพศเมีย จะมีน้ าหนักประมาณ 200-250 กิโลกรัม ส่วนเพศผู้มีน้ าหนัก 250-300 กิโลกรัม การเลี้ยงดู
               กระบือรุ่นหลังจากหย่านมแม่ โดยการแยกให้อยู่เป็นกลุ่มย่อย 2-4 ตัว ขนาดเท่า ๆ กัน ในช่วงเวลาเช้าเย็น มี
               การเสริมอาหารทั้งอาหารหยาบสด (หยาบแห้ง/หญ้าหมักหรือฟางหมักยูเรีย) และอาหารข้น (อดเม็ด/อาหาร
                                                                                              ั
                                                                              ื่
               ผสม) หรือวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เปลือกข้าวโพด  ฝักจามจุรี เพอให้กระบือรุ่นมีการเจริญเติบโต
               อย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดชะงักเมื่อแยกจากแม่ ควรฉีดวัคซีนป้องกันโรคแท้งติดต่อ (คุ้มโรคนาน 7  ปี) ให้กับ
               กระบือเพศเมียเท่านั้น ส่วนวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย และโรคคอบวม (เฮโมรายิกเซพติซีเมีย) ควร
               ฉีดครั้งแรกเมื่ออายุ 6 เดือน และฉีดซ้ าอกทุก ๆ 6 เดือน ควรเลี้ยงดูแลตามปกติ ช่วงอายุตั้งแต่หลังหย่านม
                                                  ี
               จนถึงอายุ 2 ปี  กระบือจะมีอตราการเจริญเติบโตสูงที่สุดในชีวิต อาจมีอตราการเจริญเติบโตได้สูงถึง 800-
                                                                             ั
                                         ั
                                                       ี
               1200 กรัมต่อวัน ให้กระบือได้รับอาหารอย่างเพยงพอตามความต้องการ อาหารหยาบอาจเป็นหญ้าธรรมชาติ
               หรือหญ้าที่ปลูกไว้ก็ได้ ส่วนอาหารข้นเสริมก็ปรับตามอาหารหยาบที่ให้กระบือกิน อาจเป็นอาหารข้นอดเม็ด
                                                                                                     ั
                                      ื่
                                                                                                       ื้
                                                            ี
               หรืออาหารผสมแบบผง เพอให้กระบือได้รับโภชนะเพยงพอกับความต้องการ ควรเสริมในช่วงเช้าเย็น ในพนที่
                               ี
               ที่มีอาหารหยาบเพยงพออาจเสริมอาหารหยาบในเวลากลางคืนก็ได้ หรือปล่อยให้แทะเล็มในแปลงบริเวณใกล้
               โรงเรือนพกนอนก็ได้ เพราะกระบือชอบแทะเล็มหญ้าในช่วงเวลาที่มีอากาศเย็นสบาย แต่ต้องมีน้ าให้ดื่มกิน
                        ั
               อย่างเพยงพอ แร่ธาตุก้อนควรผูกไว้ในโรงเรือนที่มีหลังคาสามารถบังแดดฝนได้ เพอให้กระบือเจริญเติบโตเพิ่ม
                      ี
                                                                                   ื่
               น้ าหนักตัวได้อย่างรวดเร็ว
                       เมื่อกระบืออายุได้ประมาณ 2 ปี เพศเมียจะมีน้ าหนักประมาณ 350-400 กิโลกรัมหรือมากกว่านี้
               ขึ้นอยู่กับการจัดการเลี้ยงดู ส่วนเพศผู้อาจมีน้ าหนักประมาณ 450-600  กิโลกรัม ควรแยกกระบือเพศผู้ออก
               จากฝูงเมื่อเริ่มแสดงพฤติกรรมการไล่ปีนทับเพศเมีย จะท าให้ความสนใจในการกินอาหารลดลง อาจมีผลเสีย
               ต่ออัตราการเจริญเติบโตช้าลงกว่าที่ควรจะเป็น เนื่องจากกระบือเพศเมียบางตัวเริ่มแสดงอาการเป็นสัด แต่ก็ยัง

                                  ั
               ไม่ควรได้รับการผสมพนธุ์ เนื่องจากยังมีขนาดเล็ก การเจริญเติบโตทางด้านโครงร่างยังไม่สมบูรณ์ ควรจัดการ


                                                             คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 37
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49