Page 43 -
P. 43
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ิ
์
ิ
ความสามารถในการจดจ าสิ่งต่าง ๆ ได้ดี และจะตอบสนองต่อสิ่งแปลกใหม่ได้อย่างรวดเร็ว เช่น คนแปลกหน้า
ื่
หรือสิ่งผิดปกติอน ๆ ความคุ้นเคยเป็นประจ า การจะท าให้กระบือยอมรับสิ่งใหม่อาจต้องใช้เวลาให้กระบือท า
ความคุ้นเคย เช่น การเปลี่ยนที่อยู่หรือเปลี่ยนคอก อาจใช้เวลาประมาณ 2-3 วัน การเปลี่ยนสถานที่ถ่ายมูล
อาจต้องใช้เวลา 3-5 วัน เป็นต้น กระบือจะคุ้นเคยกับคนเลี้ยงและจดจ าพฤติกรรม/อารมณ์ของคนเลี้ยงได้ดี
จดจ าค าสั่งต่าง ๆ ได้อย่างน่าประทับใจ กระบือเป็นสัตว์ที่อยู่รวมกันเป็นฝูง มักมีผู้น าหรือจ่าฝูงเป็นเพศเมียอายุ
ื่
มาก ส่วนกระบือที่ออนแอที่สุดจะอยู่ในล าดับสุดท้าย มักจะไม่แตกฝูง แม้จะถูกกักขังเพอไม่ให้ไปกับฝูงก็จะ
่
ี
พยายามร้องเรียกหาฝูง ดังนั้นผู้เลี้ยงต้องจัดการดูแลให้กระบือได้รับอาหารอย่างเพยงพอ มีน้ าดื่ม มีปลักนอน
ในสภาวะอากาศร้อนอย่างเหมาะสม เพื่อให้มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์
่
3.1 การจัดการแมและลูกกระบือระยะคลอด เป็นช่วงระยะเวลาที่ส าคัญอย่างยิ่ง แม่กระบือเมื่อ
ถึงก าหนดคลอดจะกระวนกระวาย เจ็บปวดท้องเป็นช่วง ๆ สลับกัน แม่กระบือจะพยายามแยกตัวออกจากฝูง
ื่
เพอหาสถานที่คลอดลูก ควรจัดเตรียมคอกคลอดไว้ให้พร้อมก่อนก าหนดคลอดประมาณ 1 สัปดาห์ หากพน
ื้
ื้
เป็นคอนกรีตควรมีวัสดุรองพนหนาพอควร มีอาหารหยาบและน้ าจัดเตรียมไว้อย่างเพยงพอ อาหารข้นควรมี
ี
ี
ื่
คุณสมบัติระบายท้องออน ๆ เช่น ร าละเอยด เพอช่วยให้คลอดง่าย ลดอาการท้องผูก เมื่อแม่กระบือเริ่มคลอด
่
ถุงน้ าคร่ าเริ่มถูกขับออกมาทางอวัยวะเพศแม่ หลังจากนั้นจะสังเกตเห็นขาหน้าโผล่ออกมาทั้ง 2 ข้าง ตามด้วย
ส่วนจมูกของลูก แม่กระบือจะเริ่มเบ่งเป็นจังหวะ เมื่อส่วนนอกของลูกถูกขับออกมาแล้ว แม่กระบือจะเร่งเบ่ง
ขับตัวลูกทั้งหมดออกมา ควรสังเกตการคลอดให้เป็นไปตามปกติ ไม่ต้องช่วยเหลือใด ๆ ยกเว้นในกรณีคลอดผิด
ท่า ควรตามสัตว์แพทย์ช่วยเหลือ เมื่อคลอดลูกเรียบร้อยแล้ว แม่กระบือจะกินรกที่หุ้มตัวลูกทั้งหมด และเลียตัว
ื่
ลูกให้แห้ง เพอกระตุ้นการหายใจของลูก หากแม่กระบือไม่สามารถท าได้ควรให้ความช่วยเหลือโดยน าผ้าแห้ง
ุ
หรือฟางแห้งมาเช็ดตัวลูกให้แห้ง ล้วงปากและจมูกเอาเมือกที่อดตันอยู่ออกให้หมด ภายในระยะเวลา 30 นาที
ถึง 1 ชั่วโมง ลูกกระบือจะเริ่มพยุงตัวเองให้ยืนและเดิน เพื่อหาเต้านมแม่ เมื่อพบแล้วจะดูดกินนมจากแม่ หาก
เป็นแม่กระบือสาวที่ไม่เคยให้ลูกมาก่อนจะไม่ค่อยให้ลูกดูดกินนม ควรช่วยโดยการผูกล่าม หรือบังคับให้แม่
กระบือยอมให้ลูกดูดกินนม หลังจากลูกกระบือดูดกินนมเหลืองจากแม่แล้ว จะขับขี้เทาออกมา หากลูกกระบือ
ไม่ได้กินนมเหลืองจากแม่ อาจช่วยเหลือโดยใช้นมโคสด ไข่แดง และน้ ามันละหุ่งผสมให้เข้ากันแล้วน าไปให้ลูก
กระบือกิน จะช่วยให้สร้างภูมิต้านทานโรคได้ ลูกกระบือจะดูดกินนมจากแม่กระบืออย่างต่อเนื่อง ได้รับการ
ดูแลปกป้องคุ้มครองจากแม่ เมื่อดูดนมแม่อมแล้วในช่วงเวลากลางวันลูกกระบือจะนอนหลับพกผ่อน การนอน
ิ่
ั
ในช่วงเวลากลางวันมีความส าคัญมาก หากลูกกระบือตัวใดไม่ได้นอนพกจะส่งผลให้มีการเจริญเติบโตช้าลงกว่า
ั
ที่ควรจะเป็น ดังนั้นในช่วงเวลากลางวันแดดร้อนควรให้แม่กระบือและลูกนอนพก ซึ่งลูกกระบือในระยะกินนม
ั
แม่จะมีอัตราการเจริญเติบโตได้สูงถึง 800-1000 กรัมต่อวัน หากแม่กระบือมีสภาพร่างกายผอม ลูกกระบือจะ
ื่
ิ่
โตช้า แม่กระบือควรได้รับอาหารเสริมเพมมากขึ้น เพอใช้สร้างน้ านมเลี้ยงลูก หากได้รับอาหารไม่เพยงพอ
ี
สภาพร่างกายแม่กระบือจะผอมลงอก อาหารเสริมอาจเป็นอาหารส าเร็จรูป อาหารผสม มันเส้น หรือวัสดุผล
ี
พลอยได้อน ๆ เช่น ฝักจามจุรี เป็นต้น โดยให้แม่กระบือมีคะแนนสภาพร่างกายอยู่ที่ 3.0-3.5 การเจริญเติบโต
ื่
ของลูกกระบือจะเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เมื่อลูกกระบืออายุ 1 เดือน ต้องท าการถ่ายพยาธิติดต่อกัน 2 หน ห่าง
กัน 2 สัปดาห์ การถ่ายพยาธิจะท าครั้งต่อไปเมื่อลูกกระบืออายุ 3-4 เดือน และอายุ 8 เดือน เพอท าลายพยาธิ
ื่
ที่เข้ามาแย่งอาหารที่ลูกกระบือกินเข้าไป ซึ่งส่งผลให้ลูกกระบือเจริญเติบโตช้าลง เมื่ออายุ 8 เดือน จะมีน้ าหนัก
ตัวประมาณ 200-250 กิโลกรัม ช่วงดังกล่าวกระเพาะหมักได้รับการพฒนาให้ท าหน้าที่ได้เกือบสมบูรณ์
ั
เพยงแต่ขนาดของกระเพาะหมักยังเล็กกว่ากระบือโตเต็มวัย ลูกกระบือจะได้กินนมแม่น้อยลง แต่ยังมีความ
ี
ต้องการอาหารเพิ่มมากขึ้น จึงต้องพยายามกินอาหารให้เหมือนแม่กระบือมากขึ้น ในช่วงเวลาดังกล่าวหากแยก
ื
36 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ