Page 48 -
P. 48
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ิ
ั
ั
่
ปลิงเกาะดูดกินเลือดบริเวณหนังหุ้มอวยวะเพศ ท าให้พอพนธุ์เกิดความเจ็บปวด แสดงความรู้สึกไม่
ั
ั
อยากผสมพนธุ์ อาจท าให้อตราการผสมติดของฝูงลดต่ าลง ปัญหาเรื่องปลิง มักพบอาศัยอยู่ตามแหล่งน้ านิ่ง
ปลิงต้องการเลือดเพอการขยายพนธุ์ หากพบเห็นปลิงเกาะอยู่ตามล าตัวกระบือให้รีบก าจัดออกไป พยายาม
ื่
ั
สังเกตบริเวณหนังหุ้มอวัยวะสืบพนธุ์ หากพบปลิงให้รีบก าจัดออกไปโดยเร็ว หากปล่อยปละละเลย อาจท าให้
ั
กระบือเจ็บปวดแสดงอาการไม่อยากผสมพนธุ์ ดังนั้นควรสังเกตดูพนที่ว่าบริเวณใดมีปลิงอาศัยอยู่ชุกชุม
ั
ื้
ควรหลีกเลี่ยงบริเวณนั้น หรือใช้สารเคมีใส่ลงไปในแหล่งน้ าเพอก าจัดปลิง (อาจใช้ต้นมะละกอสดสับให้เป็น
ื่
ท่อน ๆ ยาวท่อนละประมาณ 50 เซนติเมตร โยนลงไปในแหล่งน้ านั้น ปลิงจะเกาะและดูดยางมะละกอเข้าไป
ท าให้ปลิงตายได้)
หอยคันน าจืด ในบางท้องที่ที่มีแหล่งน้ านิ่ง มักเป็นแหล่งอาศัยของหอยคันน้ าจืดซึ่งพาหะของพยาธิ
ุ
ิ
ใบไม้ในตับ รวมทั้งตัวหอยคันจะปลดปล่อยสารพษท าให้บริเวณผิวหนังกระบือเกิดการอักเสบพพองบริเวณขุม
ขน เมื่อแผลพพองหายไปแล้วจะเกิดผิวหนังใหม่ขึ้นมา แต่เป็นสีขาวแทนสีด า ท าให้มองเห็นเป็นจุดแต้มขาว
ุ
ิ
เป็นรอยด่างไปตลอดชีวิต ไม่สามารถเหมือนเดิมได้อก อาจเป็นเพราะสารพษจากหอยคันไปท าลายจุดก าเนิด
ี
เม็ดสีบริเวณผิวหนังของกระบือ ดังนั้นหากบริเวณแหล่งน้ าดังกล่าวมีหอยคันชุกชุม ควรก าจัดหอยคันน้ าจืด
ด้วยการใช้จุนสี (copper sulfate) โรยใส่ลงไปในแหล่งน้ า อีกทั้งยังเป็นการก าจัดพยาธิใบไม้ในตับที่อาจติดต่อ
มาสู่กระบือได้อีกด้วย
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 41