Page 50 -
P. 50
์
ิ
ิ
ิ
ื
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
- สถานที่เลี้ยงกระบือตั้งอยู่ห่างจากโรงฆ่าสัตว์ ตลาดนัดค้าสัตว์อย่างน้อย 500 เมตร กรณีที่อยู่ใกล้
โรงฆ่าสัตว์และตลาดนัดค้าสัตว์ ให้มีมาตรการจัดการความเสี่ยงจากน้ าทิ้งและสิ่งปฏิกูลที่มาจากโรงฆ่าสัตว์
และตลาดนัดค้าสัตว์
- มีรั้วหรือการจัดการที่สามารถป้องกันคน และยานพาหนะเข้าพนที่เลี้ยงกระบือได้โดยรั้วอาจจะเป็น
ื้
รั้วที่สร้างขึ้นหรือแนวรั้วธรรมชาติ เช่น คูน้ า หรือแนวต้นไม้ เป็นต้น
- มีป้ายเตือน “ห้ามเข้าก่อนได้รับอนุญาต” ที่ประตูทางเข้าพื้นที่เลี้ยงกระบือ
- มีบ่อ อ่าง หรืออุปกรณ์ส าหรับฆ่าเชื้อและมีรองเท้าส าหรับเปลี่ยนก่อนเข้าพื้นที่เลี้ยงกระบือ
- มีพื้นที่เลี้ยงกระบือ แยกจากอาคารส าหรับอยู่อาศัย
ื้
- มีพนที่ส าหรับกักกระบือก่อนน าเข้ารวมฝูง โดยอยู่ห่างจากพนที่เลี้ยงกระบือที่มีอยู่เดิม ตามความ
ื้
เหมาะสม
- จัดให้มีพื้นที่ที่เหมาะสมส าหรับแยกสัตว์ป่วยออกจากฝูง
ุ
- มีซองและอปกรณ์ควบคุมบังคับสัตว์ในการฉีดวัคซีนหรือรักษาโรค
- มีถังขยะที่มีฝาปิดมิดชิด
2) การจัดการโรงเรือนและอุปกรณ์
- มีการท าความสะอาดและท าลายเชื้อโรคบริเวณพื้นคอกอย่างสม่ าเสมอ
3) การจัดการยานพาหนะ
ื้
- ห้ามยานพาหนะจากภายนอกเข้าพนที่เลี้ยงกระบือ เว้นแต่มีการฆ่าเชื้อหรือท าลายเชื้อโรค
ยานพาหนะก่อน
4) การจัดการบุคคล
- ห้ามบุคคลจากภายนอกเข้าออกสถานที่เลี้ยงกระบือ เว้นแต่มีการท าลายเชื้อโรค และเปลี่ยนรองเท้าก่อน
5) การจัดการด้านสุขภาพ
- กระบือที่น าเข้ามาเลี้ยงใหม่ต้องทราบแหล่งที่มา โดยต้องมาจากสถานที่เลี้ยงสัตว์ที่มี ระบบป้องกัน
โรคที่ดี และมีผลการตรวจว่าไม่เป็นโรคบรูเชลลา
- การกักโรคกระบือที่น าเข้ามาเลี้ยงใหม่ แยกจากพนที่เลี้ยงกระบือที่มีอยู่เดิม ในพนที่ส าหรับ
ื้
ื้
กักกระบือก่อนน าเข้ารวมฝูงอย่างน้อย 14 วัน
ื่
- ไม่น าสัตว์กีบคู่ชนิดอนจากภายนอกสถานที่เลี้ยง เช่น เนื้อ นม แพะ แกะ เป็นต้น เข้ามาเลี้ยงกับ
กระบือที่อยู่ในคอกหรือโรงเรือนเลี้ยงสัตว์เดียวกัน
- มีการถ่ายพยาธิ การฉีดวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อย โรคเฮโมรายิกเซพติซีเมีย และโรคชนิด
อื่นตามที่กรมปศุสัตว์ก าหนด
- มีระบบการตรวจโรคบรูเชลลาที่ยอมรับได้
- เมื่อพบกระบือป่วยหรือตายด้วยโรคระบาดหรือสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือไม่ทราบสาเหตุให้แจ้ง
เจ้าหน้าที่ปศุสัตว์ทันที
6) การจัดการอาหาร-น้ าและยาสัตว์
ั
ั
- มีการเก็บอาหารที่สะอาด แห้ง ไม่อบชื้น ต้องไม่มีเชื้อราหรือวัตถุที่เป็นอนตรายต่อ สัตว์ปนเปื้อน
ในอาหาร สามารถป้องกันพาหะน าโรค และการเสื่อมสภาพของอาหารสัตว์ได้
- มีการจัดเก็บและรักษาคุณภาพวัคซีนและยารักษาโรคอย่างเหมาะสม
- มีการใช้ยา วิตามิน และผลิตภัณฑ์ส าหรับฆ่าเชื้อที่มีทะเบียนถูกต้อง และห้ามใช้ยาที่เป็นยาหรือสาร
ต้องห้ามในการเลี้ยงสัตว์ตามกฎหมาย
คู่มือการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ | 43