Page 37 -
P. 37
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
ิ
์
ิ
2.4 การให้อาหารลูกกระบือ
ลูกกระบือจะเริ่มหัดกินหญ้าและอาหารเมื่ออายุประมาณ 2 - 3 เดือน เนื่องจากแม่กระบือจะให้
นมได้สูงสุดในระยะนี้ หลังจากนี้จะเริ่มผลิตน้ านมเพื่อเลี้ยงลูกลดลงเรื่อย ๆ ในขณะที่ลูกกระบือเติบโตขึ้นทุกวัน
ลูกกระบือจึงจ าเป็นต้องกินอาหารอนทดแทน ลูกกระบือที่กินหญ้าและอาหารได้เร็ว ก็จะเติบโตได้เต็มที่
ื่
การให้อาหารข้นเสริม (Creep feed) จะท าให้ลูกกระบือโตเร็วขึ้น มีน้ าหนักหย่านมสูง
ลูกกระบืออายุต่ ากว่า 3 เดือน ควรเพมอาหารข้นให้ทีละน้อยและค่อยๆ เพมขึ้นหลังจากที่ลูก
ิ่
ิ่
กระบือทุกตัวเริ่มกินอาหาร และให้กินอาหารได้เต็มที่ถ้าอายุมากกว่า 3 เดือนแล้ว แต่ถ้าลูกกระบือมีขนาด
ต่างกันอาจจ าเป็นต้องแยกกลุ่มลูกกระบือตามขนาด ที่ให้อาหารลูกกระบือควรอยู่ใกล้กับบริเวณคอกแม่
กระบืออยู่ เพอที่ลูกกระบือจะได้เข้าไปลองกินอาหารได้สะดวก โดยท าช่องให้ลูกกระบือลอดเข้าไปกินอาหาร
ื่
ื้
ได้กว้างประมาณ 40- 45 ซม. พนที่บริเวณให้อาหารประมาณ 30 ซ.ม.ต่อ 3 ตัว ให้อาหารข้นโปรตีนมากกว่า
20% ให้กินตัวละประมาณ 500 - 600 กรัมต่อวัน
ถาแปลงหญ้าคุณภาพดีการเสริมอาหารข้นจะมีผลตอลูกกระบือน้อย แต่ถาแปลงหญ้าคุณภาพต่ าการ
เสริมอาหารข้นจะมีผลดีตอลูกกระบือมาก
การให้ creep feed แกลูกกระบือควรจะปฏิบัติเมื่อ
่
- มีความต้องการลูกกระบือหย่านมน้ าหนักสูง
- creep feed มีราคาไม่แพง
- แม่กระบือเป็นกระบือสาวที่เพิ่งให้ลูกครั้งแรก
- แปลงหญ้ามีสภาพไม่สมบูรณ์
- ลูกกระบือคลอดในฤดูแล้ง อาหารแม่กระบือไม่สมบูรณ์
- แม่กระบือถูกเลี้ยงขังในคอก
2.5 ปัญหาที่พบได้บ่อยในลูกกระบือหลังคลอด
1. ท้องร่วง เป็นปัญหาที่ส าคัญท าให้อัตราการตายสูง เกิดจากการติดเชื้อ Samonella spp.
ลักษณะอาการคืออุจจาระมีสีขาวปนเหลือง มีลักษณะเหลวเป็นน้ าสีเขียวคล้ า มีกลิ่นเหม็น เมื่อมีอาการรุนแรง
ขึ้นลูกกระบือจะสูญเสียน้ ามากไม่มีแรง ผอมโทรม ตาลึก และหากไม่ได้รับการรักษาจะเมื่อมีตายภายใน 4 -5
วัน ในทางปฏิบัติจะต้องหมั่นตรวจสุขภาพของลูกกระบือทั้งเช้าและเย็น โดยการสังเกตการถ่ายอจจาระว่า
ุ
ผิดปกติหรือไม่ หากมีอาการเซื่องซึม สุขภาพทรุดโทรมให้ท าการล้วงทวารหนักดูลักษณะของมูล หากมูลมี
อาการของโรค ต้องรีบแยกท าการรักษาทันที โดยใช้ยาพวกซัลฟากรอกให้กิน หากเป็นรุนแรงสูญเสียน้ ามาก
ควรกรอกด้วยน้ าเกลือแร่ ในช่วงที่อากาศร้อนจัดลูกกระบือมีความเครียด ท าให้การเกิดโรครุนแรงขึ้น ควรลด
อุณหภูมิโดยการพ่นน้ าให้ลูกกระบือ หรือมีต้นไม้ใกล้คอกจะช่วยให้บริเวณคอกไม่ร้อนจัด
2. พยาธิภายใน พยาธิภายในเป็นสิ่งที่ท าให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจมาก ได้แก่พยาธิตัว
กลมและพยาธิไส้เดือนชนิด Toxocara vitulorum และ Strongyloides papillosus พบมากในลูกกระบือ
ื้
อายุ 1 -2 เดือน เนื่องจากติดไข่พยาธิจากน้ านมแม่ และบริเวณพนดิน ซึ่งพฤติกรรมการเลียดินของลูกกระบือ
ท าให้เสี่ยงต่อการติดพยาธิมาก ผลที่ลูกกระบือเป็นโรคพยาธิจะท าให้โลหิตจาง สุขภาพทรุดโทรม มีอาการซึม
ไม่ร่าเริง ท้องป่อง ขนหยอง บางรายมีพยาธิจ านวนมากท าให้อุดตันล าไส้มีผลให้ลูกกระบือตายได้ การติดพยาธิ
ั
เป็นสาเหตุหลักที่ท าให้อตราการตายของลูกกระบือสูง ดังนั้นควรถ่ายพยาธิลูกกระบือ 3 ครั้งก่อนหย่านมได้แก่
ครั้งที่ 1 อายุ 3 สัปดาห์ ครั้งที่ 2 อายุ 3 เดือน ครั้งที่ 3 อายุ 6 เดือน ด้วยยาที่ค่อนข้างได้ผลดี คือ เปปเปอร์
ราซิน เนมาแฟกซ์ อัลบาร์เซน เป็นต้น
ื
30 | คู่มอการผลิตกระบือพันธุ์ส าหรับผู้ประกอบการ