Page 49 -
P. 49

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                              ์
                                           ิ
                                                                             ั
                                                             ิ
                                                 ิ
                                                                                     ุ
                               ื
                                  ิ
                                                                                                           43

                       การหลีกเลี่ยงความไมEแนEใจ (Uncertainty avoidance) หมายถึง ความพยายามที่จะหลีกเลี่ยงสถานการณQท ี่
               คลุมเครือ เปUนแนวคิดที่คล:ายคลึงกับความไมEแนEใจ  บุคคลที่มาจากวัฒนธรรมที่นิยมหลีกเลี่ยงความไมEแนEใจสูง (High
                                                                                     ั
               uncertainty avoidance cultures) มองวา “สิ่งที่แตกตEางออกไปมีอันตราย” ในขณะที่วฒนธรรมที่มีการหลีกเลี่ยงความ
                                                 E
                                                                               U
               ไมEแนEใจต่ำ (Low uncertainty avoidance cultures) มองวEา “สิ่งที่แตกตEางเปนสิ่งที่นEารู:และนEาสนใจ” ดังนั้น จึงม ี
               พฤติกรรมการสื่อสารที่แตกตEางกันไป สำหรับวัฒนธรรมที่มีการหลีกเลี่ยงความไมEแนEใจต่ำ ได:แกE แคนาดา เดนมารค
                                                                                                            Q
                                                                                                            ิ
                                                ิ
                                                                                            Q
               อังกฤษ ฮEองกง อินเดีย สวีเดน สหรฐอเมรกา สEวนวัฒนธรรมที่หลีกเลี่ยงความไมEแนEใจสูง ได:แกE อารเจนตินา เบลเยียม ชลี
                                           ั
               อียิปตQ ฝรั่งเศส ญี่ปุèน เกาหลี เม็กซิโก  เปรู กรีซ สเปน (West and Turner, 2010)

               ทฤษฎีการละเมิดความคาดหวัง (Expectancy Violations Theory)


                       อวัจนภาษา  ได:แกE ทEาทาง การแสดงออก พฤติกรรม สื่อความหมายอยEางใดอยEางหนึ่งและมีความสำคัญไมEน:อย
                               ั
                                                                                 :
                                                                                   ึ
                          ่
                          ึ
                             U
                                                                             ู
                                                                             :
                                                                          U
                                                                                                    ั
                                                                              ิ
                                                                              ่
               ไปกวาคำพดซงเปนวจนภาษา  ในปลายทศวรรษ 1970 Judee Burgoon เปนผเรมตนศกษาผลกระทบของอวจนภาษาใน
                        ู
                    E
               การสนทนา อิทธิพลของอวัจนภาษาที่มีตEอการสร:างสาร การตีความหมายสาร และพฤติกรรม ผลการศึกษานำไปสูEการ
               พัฒนาทฤษฎีการละเมิดความคาดหวังทางอวัจนภาษา (Nonverbal Expectancy Violations Theory)  ซึ่งเปUนทฤษฎ ี
               ตามแนวทางของปฏิฐานนิยม (Positivism) ตEอมา Burgoon ตัดคำวEาอวัจนภาษาออกเพราะได:ขยายการอธิบายของ
                      :
               ทฤษฎีใหครอบคลุมประเด็นอื่นนอกเหนือจากอวัจนภาษา
                       คนเราจะมีความคาดหวังวEาผู:สื่อสารอีกฝèายจะมีการพฤติกรรมการตอบสนองและการแสดงออกทางอวัจนภาษา
               อยEางไร เชEน การสบตา ระยะหEางในการสื่อสาร อากัปกิริยาทEาทาง ความคาดหวังนี้มาจากบรรทัดฐานทางสังคม
               ประสบการณการสื่อสารกับอีกฝèาย บริบทและสถานการณQ ระยะแรก Burgoon ศึกษาการสื่อสารอวัจนภาษาหลายอยEาง
                          Q
                                                                       E
               เชEน พ้นท่สEวนตว (Personal space) และความคาดหวังเกี่ยวกับระยะหางในการสนทนา อวัจนภาษาของผู:สื่อสารอีกฝèาย
                       ี
                            ั
                    ื
               ที่ไมEเปUนไปตามความคาดหวัง เชน ระยะหEางในการสนทนาระหวEางผู:สื่อสารกระตุ:นความสนใจได:
                       ข:อสันนิษฐานของทฤษฎีนี้ คือ เมื่อพฤติกรรมของอีกฝèายตรงกับความคาดหวังของเรา เราจะประเมินอีกฝèายใน
               ทางบวก Burgoon และคณะพบวEา ถ:าพฤติกรรมของอีกฝèายละเมิดหรือผิดไปจากความคาดหวัง เราอาจจะประเมินและ
               ตีความหมายพฤติกรรมของอีกฝèายนั้นในทางบวกหรือทางลบก็ได ซึ่งขึ้นอยูEกับการรับรู:ตEอผู:ละเมิดความคาดหวง
                                                                                                            ั
                                                                      :
                                                                                            ิ
                                                                                             ั
                                                                                        :
                                                                                       ่
                                                  ั
                                                                                                         ิ
                                                                                                    ื
                                                                                               ั
                                                                                                  Q
               นอกจากนี้ พฤติกรรมการละเมิดความคาดหวงสามารถกระตุ:นความสนใจเพิ่มขึ้นได ในขณะทถาปฏสมพนธหรอพฤตกรรม
                                                                               :
                                                                                       ี
               การแสดงออกของคูEสื่อสารสอดคล:องกับความคาดหวังของเรา  เราอาจจะไมEได:ให:ความสนใจกับพฤติกรรมของอีกฝèาย
               เพราะพฤติกรรมไมEได:โดดเดEนหรือผิดไปจากปกติวิสัย
                       การประเมินพฤติกรรมละเมิดความคาดหวังของผู:สื่อสารไปในทางบวกหรือลบขึ้นอยูEกับระดับความมากน:อยของ
                                                                                          ี่
                        :
                                                                           :
               รางวัลที่ไดรับจากปฏิสัมพันธQ (Reward valence) คุณคEาในทางบวกจะทำใหพฤติกรรมสื่อสารทละเมิดความคาดหวังถูก
                                                       :
               ประเมินในทางบวก เชEน ถ:าอีกฝèายที่เราสนทนาดวยมีลักษณะทEาทางที่ดึงดูดใจ เราอาจประเมินการเข:ามายืนคุยใกล :
                          ิ
               มากกวEาปกตในทางบวก ในทางตรงกันข:าม ถ:าเรามีแฟนแล:ว เราอาจประเมินการยืนคุยในระยะใกล:นี้ในทางลบ เพราะ
                                                                                                       Q
               พฤติกรรมละเมิดความคาดหวังนี้ให:ผลเสียมากกวEาผลดี หรือมีต:นทุน (Costs) มากกวEารางวัลหรือผลประโยชนที่ได:รบ
                                                                                                            ั
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54