Page 48 -
P. 48
์
ิ
ุ
ั
ิ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
42
ี
ความไมEแนEใจที่เกิดขึ้นกับความสัมพันธQที่พัฒนาขึ้นแล:วมความแตกตEางจากความไมEแนEใจในปฏิสัมพันธQครั้งแรก
เรียกวEา “ความไมEแนEใจในความสัมพันธQ” (Relational uncertainty) ซึ่งเปUนการขาดความแนEใจเกี่ยวกับอนาคตและ
ูE
สถานะของความสัมพันธQ มีการศึกษาเรื่องความไมEแนEใจในความสัมพันธQแบบอยใกล:ชิดกันและหEางไกลกัน ผลการศึกษา
พบวEาปฏิสัมพันธQแบบเห็นหน:าคEาตากันชEวยลดความไมEแนEใจ ขณะที่ความสัมพันธQแบบระยะทางไกลกันและไมEม ี
ปฏิสัมพันธQแบบเห็นหน:าคEาตากันเลยมักจะมีความไมEแนEใจสูง สEวนคูEสัมพันธQที่อยูEหEางไกลแตEมีปฏิสัมพันธQแบบเห็นหน:าคา
E
ตาบ:างเปUนบางครั้งจะมีความไมEแนEใจน:อยลง
ความไมEแนEใจในความสัมพันธQหรือการขาดความมั่นใจในสถานะความสัมพันธQทำให:บุคคลหลีกเลี่ยงการสื่อสาร
เกี่ยวกับประเด็นอEอนไหวและประเด็นโต:แย:ง (Controversial issues) เชEน ศาสนา การเมือง เพราะไมEแนEใจวEาอีกฝèายจะ
ตอบสนองอยEางไร นอกจากนี้ ยังมีแนวโน:มที่จะแสดงความรู:สึกหึงหวงน:อยลง รวมทั้งการประเมินพฤติกรรมที่นEารำคาญ
ของผู:สื่อสารอีกฝèายในทางลบมากขึ้นด:วย (Floyd et al., 2016)
ั
ั
ั
ี
ี
è
ิ
E
ึ
:
ุ
ื
ิ
ึ
ื่
:
เม่อความสมพนธQพฒนามาถงจดท่สามารถทำนายพฤตกรรมของอกฝายไดอยางมาก อาจทำใหเกดความรู:สกเบอ
ได: ความเบื่อถือวEาเปUนต:นทุนของความสัมพันธมากกวEาที่จะเปUนรางวัล เมื่อบุคคลเริ่มมั่นใจในความสัมพันธQ กลับมีความ
Q
ต:องการความตื่นเต:นจากความไมEแนEใจ แสดงให:เห็นวEาความสัมพันธQระหวEางความไมEแนEใจและตัวแปรการสื่อสารอื่น ๆ
ไมEได:เหมือนกันกับปฏิสัมพันธQเริ่มแรก การใช:เวลาอยูEด:วยกันบEอยและนานขึ้นทำให:ตEางฝèายตEางทำนายความคิดและ
พฤติกรรมของกันได: แตEความมั่นใจหรือการทำนายอีกฝèายได:อาจทำให:รู:สึกเบื่อได: ดังนั้น คูEรักอาจต:องสร:างความ
หลากหลายหรือความแปลกใหมEในชีวิตประจำวันเพ่อสนองความต:องการของอีกฝèาย อยEางไรก็ตาม ในความสัมพนธของค ูE
ั
Q
ื
:
ั
สามีภรรยากลับพบวEาคูEสามีภรรยาไมEต:องการให:เกิดความไมEแนEใจเพราะจะทำใหการประเมินบทสนทนาของกันและกน
เปUนไปในทางลบมากขึ้น
ความไมsแนsใจกับความแตกตsางทางวัฒนธรรม
ความไมEแนEใจมีความแตกตEางกันตามวัฒนธรรม ในญี่ปุèน เกาหลี และสหรัฐอเมริกา ความดึงดูดใจของอีกฝèาย
ั
็
E
Q
ั
ู
ั
E
ั
ั
มักจะชวยลดความไมแนใจในความสมพนธระหวางคนร:จก เพอน และความสมพนธแบบคEรก อยางไรกตาม ความไมEแนEใจ
E
E
ั
ื
่
ู
Q
E
ที่น:อยลงอาจจะไมEมีผลตEอการทำให:รับรู:ความดึงดูดใจของอีกฝèายมากขึ้น
วัฒนธรรมอิงบริบทสูง (High-context cultures) เชEน ญี่ปุèน เกาหลี จีน มีความแตกตEางกับวัฒนธรรมอิงบริบท
ต่ำ (Low-context cultures) เชEน สหรัฐอเมริกา เยอรมัน สวิสเซอรQแลนดQ ในวัฒนธรรมที่อิงบริบทต่ำ ผู:สื่อสารจะ
ตีความหมายจากคำพูดเปUนหลัก สEวนวัฒนธรรมที่อิงบริบทสูง อวัจนภาษามีบทบาทสำคัญมากในการถEายทอดและ
ตีความหมาย เพราะผู:สื่อสารไมEใช:คำพดตรงไปตรงมา ความถี่ในการสื่อสารมีผลตEอการลดความไมEแนEใจในวัฒนธรรมที่อง
ิ
ู
บริบทต่ำ แตEไมEมีผลตEอการลดความไมEแนEใจในวัฒนธรรมที่อิงบริบทสูง นักวิจัยพบวEาบุคคลจะใช:การสื่อสารแบบ
ตรงไปตรงมา ได:แกE การซักถาม เพื่อลดความไมEแนEใจในวัฒนธรรมปiจเจกนิยม (Individualism) สEวนในวัฒนธรรมแบบ
E
รวมกลุEม (Collectivism) มักจะใช:การสื่อสารแบบอ:อม (Indirect communication) มากกวา (Gudykunst and
Nishida, 1984) จะเห็นได:วEาบุคคลที่มีพื้นฐานทางวัฒนธรรมแตกตEางกันมีการสื่อสารเพื่อลดความไมEแนEใจแตกตEางกัน