Page 13 -
P. 13

ิ
                                              ์
                                           ิ
                                                                                     ุ
                                                                             ั
                                                             ิ
                               ื
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                  ิ
                                                                                                           7

                                  E
               หนึ่งของวัฒนธรรมใหญรEวมกัน แตEยังแบEงประเภทได:อีกตามคุณลักษณะที่แตกตEางกัน เชEน เชื้อชาติ อายุ เพศ เปUนต:น คำ
                                                                                               ั
               วEา วัฒนธรรมรEวมกันนำมาใช:แทนคำวEาวัฒนธรรมยEอย (Subculture) ที่สื่อความหมายถึงการครอบงำวฒนธรรมหนึ่ง การ
               เติบโตของการวิจัยการสื่อสารระหวEางวัฒนธรรมเปUนผลมาจากการเติบโตของวัฒนธรรมองคQการตEาง ๆ โดยนักวิจัยมง
                                                                                                            ุE
                                                    ี่
                                        Q
               ศึกษาปฏิสัมพันธQและเหตุการณระหวEางบุคคลทตEางวัฒนธรรมกัน ซึ่งแสดงใหเหนวEาวัฒนธรรมสEงผลตEอความแตกตEางของ
                                                                             ็
                                                                           :
               พฤติกรรมมนุษยQ กลEาวคือ วัฒนธรรมวางโครงสร:างการรับรู:และการกระทำของมนุษยQ

               แบบจำลองการสื่อสาร


                       แบบจำลองแสดงความสัมพันธQระหวEางองคQประกอบในกระบวนการสื่อสาร สามารถจัดกลุEมได: 3 แบบหลัก ๆ
               ดังนี้


                       1.  แบบจำลองการสื่อสารเชิงเส,นตรง (The Linear Model of Communication)


                       Claud Shannon นักวิทยาศาสตรQในห:องทดลองโทรศัพทQและศาสตราจารยQแหEงสถาบันเทคโนโลย     ี
               แมสซาชูเซส และ Warren Weaver ที่ปรึกษาโครงการแหEง Sloan Foundation มีความสนใจเรื่องการสื่อสารทาง

                                          Å
               โทรศัพทQอยEางมีประสิทธิภาพ ในป ค.ศ.1949 ทั้งคูEได:วางกรอบความคิดแบบจำลองการสื่อสารเชิงเส:นตรงเพื่ออธิบาย
               การไหลของข:อมูลขEาวสารผEานชEองทางการสื่อสารตEาง ๆ

                       กระบวนการสื่อสารเชิงเส:นตรงเริ่มต:นจากแหลEงสาร (Source) หรือผู:สEงสาร (Transmitter) ถEายทอดสาร
                                                  E
                                                          ั
                                                            ู
                                                                                   E
                                                                                                    ื
               (Message) เชน คำ เสยง การกระทำ หรือทาทาง ไปยงผ:รับสาร (Receiver) โดยผานชองทาง (Channel) หรอเส:นทาง
                                                                               E
                                 ี
                           E
               การสื่อสาร ได:แกE การเห็น การได:ยิน การสัมผัส การลิ้มรส การได:กลิ่น
                       ในกระบวนการสื่อสารอาจมีสิ่งรบกวน (Noise) ที่ลดประสิทธิผลของการสื่อสารลง สิ่งรบกวนมี 4 ประเภท
               ได:แกE (1) สิ่งรบกวนทางภาษา (Semantic noise) เชEน คำสแลง คำเฉพาะอาชีพ ที่เข:าใจกันเฉพาะในกลุEมหรือวงการ
                                                                                                          ื
               สEวนคนนอกกลุEมอาจไมEเข:าใจหรือตีความหมายผิดไปจากความตั้งใจของผู:สEงสาร (2) สิ่งรบกวนทางกายภาพหรอ
               สิ่งรบกวนภายนอก  (Physical or external noise) เชEน เสียงอึกทึกครึกโครมในขณะสื่อสาร เสียงสัญญาณรบกวน
               ขณะโทรศัพทQ (3) สิ่งรบกวนทางจิตวิทยา (Psychological noise) ได:แกE อคติ ความลำเอียง และทัศนคติเดิมของผ ู:
               สื่อสารตEออีกฝèายหรือตEอสาร (4) สิ่งรบกวนทางชีวภาพ (Physiological noise) เชEน ความเหนื่อย ความเจ็บปèวย หรอ
                                                                                                          ื
               ความหิวของผู:สื่อสาร
                       ถึงแม:แบบจำลองการสื่อสารเชิงเส:นตรงนี้จะได:รับการยอมรับมานาน แตEยังมีข:อจำกัดหลายประการ เชน
                                                                                                          E
                                                                                     Q
               แบบจำลองสะท:อนวEามีสารหนึ่งเดียวในกระบวนการสื่อสาร ซึ่งไมEสอดคล:องกับสถานการณในชีวิตจริงที่หลายครั้งคนเรา
                                                              ื่
                                                                                                          ู
               มีการถEายทอดหลายสารพร:อมกัน แบบจำลองสะท:อนการสอสารในลักษณะกลไก โดยบุคคลหนึ่งถEายทอดสารหรือพด
               กับอีกคนหนึ่ง ซึ่งเปUนการสะท:อนภาพกระบวนการสื่อสารในรูปแบบที่งEายเกินไปและไมEสอดคล:องกับสถานการณQการ
               สื่อสารที่ซับซ:อน จริง ๆ แล:วการสื่อสารไมEมีจุดเริ่มต:นและสิ้นสุด ในด:านผู:รับสารก็ไมEได:เฉื่อยชา เปUนผู:ถูกกระทำ
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18