Page 18 -
P. 18
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ุ
ั
ิ
ิ
ื
์
ิ
12
5. ทฤษฎีในกลุsมจิตวิทยาสังคม (The Socio-Psychological Tradition)
ขนบจิตวิทยาสังคมพัฒนาขึ้นมาจากสาขาวิชาจิตวิทยาสังคม มุEงศึกษาปiจเจกบุคคลในฐานะที่เปUนสิ่งมีชีวิตทาง
สังคม ทฤษฎีตามขนบจิตวิทยาสังคมมีรากฐานจากความเชื่อวEาพฤติกรรมของบุคคลได:รับอิทธิพลมาจาก“ตัวแปร” ตEาง ๆ
ิ
ิ
ิ
ุ
ิ
ั
ิ
:
U
ื
E
ุ
Q
ิ
ิ
ู
ั
ั
ึ
ุ
:
ั
โดยเฉพาะตวแปรทางจตวทยา บคลกภาพ นสย การรบร ความนกคด กลาวคอ จตใจของมนษยเปนจดเนนในการวจยตาม
แนวทางนี้ โดยให:ความสนใจเรื่องการโน:มน:าวใจและการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ เพื่อให:ได:แนวทางในการวางกลยุทธQการ
สื่อสารให:มีประสิทธิผล นักทฤษฎีรุEนแรก ๆ ในกลุEมนี้ ได:แกE Carl Hovland นักจิตวิทยาจาก Yale University เปUนผ ู:
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทัศนคติและอิทธพลของการจดจำระยะสั้นและระยะยาวที่มีตEอทัศนคติและความเชื่อของบุคคล
ิ
ผลงานวิจัยของ Hovland และนักจิตวิทยาสังคมคนอื่น ๆ ได:เน:นความสำคัญของการวิจัยเชิงทดลองและการศึกษา
ี
ื
U
ึ
ความสัมพนธQเชิงเหตุผล (Causal relationships) เพ่อทำนายผลของการสื่อสาร ซ่งเปนการวิจัยตามวิธวิทยาศาสตรQที่เชอ
ั
ื่
:
U
วEาผู:วิจัยสามารถคนพบความจริงเกี่ยวกับการสื่อสารดวยการสังเกตอยEางเปนระบบ และเปUนกลาง (Objective) ปราศจาก
:
ความรู:สึกและอคติของผู:วิจัย
ทฤษฎีการสื่อสารตามขนบจิตวิทยาสังคม เชEน ทฤษฎีการลดความไมEแนEใจ (Uncertainty reduction theory)
ทฤษฎการละเมิดความคาดหวัง (Expectancy-violation theory) ซึ่งอธิบายกระบวนการเกี่ยวกับความนึกคิด วิธีการลด
ี
ความไมEแนEใจและการจัดการปฏิกิริยาของคูEสื่อสารที่ผิดไปจากความคาดหวัง ที่สEงผลกระทบตEอผลลัพธQของการสื่อสาร
6. ทฤษฎีในกลุsมสังคมและวัฒนธรรม (The Socio-Cultural Tradition)
ั
ขนบสงคมและวัฒนธรรมมองวEาการส่อสารไดสร:างสรรค และถายทอดความจริงทางสงคม (Social reality) การ
Q
ั
E
ื
:
สื่อสารเปUนการผลิต (Produce) และผลิตซ้ำ (Reproduce) วัฒนธรรม Edward Sapir นักภาษาศาสตรQแหEง University
of Chicago และลูกศิษยQชื่อ Benjamin Lee Whorf เปUนผู:บุกเบิกในกลุEมสังคมและวัฒนธรรม ทั้งคูEเสนอสมมติฐาน
เกี่ยวกับสัมพัทธQนิยมทางภาษา (Linguistic relativity) ที่เชื่อวEาโครงสร:างภาษากำหนดสิ่งที่คนคิด กระทำ และวาง
โครงสร:างการรับรู:ความจริง (Reality) ภาษาไมEได:สะท:อนภาพสิ่งที่เปUนหรือความจริง แตEภาษามีบทบาทตEอมุมมองที่เราม ี
ตEอความจริง ดังนั้น ความจริงจึงเปUนสิ่งที่ถูกสร:างขึ้นทางสังคม (Social construction of reality) (Griffin, Ledbetter,
and Sparks, 2015) ความจริง ไมEได:อยูEภายนอกตัวเราเพื่อรอคอยการค:นพบ แตEถูกสร:างขึ้นจากการปฏิสัมพันธQหรือการ
สื่อสารในกลุEม ชุมชน และวัฒนธรรม
ทฤษฎีการสื่อสารตามขนบสังคมและวฒนธรรม เชEน ทฤษฎีอัตลักษณทางวฒนธรรม (Cultural identity) ทฤษฎ ี
ั
ั
Q
ุE
การตEอรองทางอัตลักษณQ (Identity negotiation) ที่มองวEาอัตลักษณQถูกสร:างขึ้นผEานปฏิสัมพันธQทางการสื่อสารในกลม
สังคมและวัฒนธรรม และเปUนการผสมผสานกันของบุคคล สังคม ชุมชน และวัฒนธรรม กลEาวคือ อัตลักษณQได:รับอิทธิพล
จากผู:อื่นในกลุEมวัฒนธรรมและภาษารEวมกัน ไมEได:มาจากการสร:างของปiจเจกบุคคล