Page 22 -
P. 22

ั
                                           ิ
                                              ์
                                                 ิ
                                                             ิ
                                                                                     ุ
                               ื
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                  ิ
                                                                                                           16

                                                           บทที่ 2
                                                  ความรู,พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎี

               ความหมายของทฤษฎี


                                                                                                     Q
                            ี
                                      U
                                              ี่
                                                :
                                                                                    ื
                                             ู
                       ทฤษฎ (Theory) เปนความร:ทไดจากการจัดระเบียบและการสังเคราะหQข:อมูลเพ่ออธิบายปรากฏการณทางสังคม
               และประสบการณQของมนุษยQ เปรียบเทียบได:กับแผนที่แสดงถนนหนทาง แมEน้ำ สะพาน และสถานที่สำคัญ ทฤษฎีเปน
                                                                                                            U
               ภาชนะบรรจุความรู:หรือคูEมือแนะนำการสังเกตและการเข:าใจปรากฏการณQทางสังคม
                         ทฤษฎีนำเสนอแนวคิดและคำอธิบายปรากฏการณที่มาจากการสังเกตและตรวจสอบ ซึ่งเปUนการสะท:อนมุมมอง
                                                               Q
                                                                                                            U
               หรือกรอบความคิดที่แตกตEางกันของนักวิชาการตEอปรากฏการณQหรือสถานการณQที่ศึกษา การสร:างทฤษฎีไมEเพียงแตEเปน
               การค:นพบข:อเท็จจรง แตEยังสะท:อนวิธีการสังเกต จัดระเบียบ และนำเสนอข:อเท็จจรง (Kaplan, 1964) ผู:สังเกต 2 คนอาจ
                               ิ
                                                                                ิ
               มองสถานการณQเดียวกันตEางแงEมุมและตEางวิธีกัน ทฤษฎีจึงเปรียบเทียบได:กับ “เลนสถEายภาพ” ที่ใช:มองปรากฏการณ Q
                                                                                   Q
               มากกวEาที่จะเปUน “กระจก” สะท:อนธรรมชาติของปรากฏการณQทั้งหมดอยEางเที่ยงตรง เลนสQวางรูปแบบการรับร  ู:
               (Perception) เลนสQระยะตEางกันทำให:ได:ภาพปรากฏการณQตEางกัน นักวิชาการให:ความสนใจตEอบางแงEมุมของ
                                                                                            ี
               ปรากฏการณQและวิเคราะหQสถานการณQการสื่อสารเดียวกันแตกตEางกันไปตามเลนสQที่ใช: ทฤษฎก็เชEนเดียวกับเลนสQท ี่
                                         Q
               สะท:อนและอธิบายปรากฏการณโดยให:ความสนใจบางคุณลักษณะของการสื่อสารและมองข:ามหรือละเลยองคQประกอบอื่น
               นอกจากนี้ ทฤษฎียังเปรยบได:กับ “แผนที่” (Maps) ที่บอกตำแหนEงของถนนหนทางและสถานที่ตEาง  ๆ เปUนการให:ทิศทาง
                                  ี
                                                          :
               แกEผู:วิจัยในการศึกษาปรากฏการณQ ทฤษฎีตEางกันก็จะใหความรู:เกี่ยวกับปรากฏการณQเดียวกันตEางกันไปด:วย
                       ทฤษฎีสะท:อนวิธีการมองและเข:าใจปรากฏการณQจากมุมมองหนึ่งเทEานั้น ไมEมีทฤษฎีใดที่แสดงความจริงโดยรวม
                                                                                           ิ
                                   Q
                                                                    :
                                                                           Q
                                                                                        U
               ทั้งหมดของปรากฏการณ ทฤษฎจึงควรได:รับการประเมินจากการใชประโยชนมากกวาความเปนจรง (Truthfulness) ของ
                                         ี
                                                                                 E
               ทฤษฎี นอกจากทฤษฎีจะให:คำอธิบายปรากฏการณQแล:ว ยังให:กรอบความคิดหรือความเข:าใจพื้นฐานแกEนักวิชาการเพอ
                                                                                                            ื่
               นำไปพัฒนาและตEอยอดความรู:  ตลอดจนชี้แนะแนวทางในการกำหนดปiญหาหรือคำถามในการวิจัยเพื่อสร:างความเข:าใจ
               ตEอปรากฏการณQด:วย

               การพัฒนาทฤษฎี


                       ทฤษฎพฒนาข้นจากการแสวงหาความร:โดยการศกษาปรากฏการณอยางเปนระบบ ข้นตอนแรกของการแสวงหา
                                                                                        ั
                                  ึ
                                                                          Q
                                                     ู
                                                             ึ
                            ี
                                                                                U
                             ั
                                                                             E
                                                                                                          ู:
               ความรู: คือ การตั้งคำถามเกี่ยวกับคุณสมบัติและความสัมพันธQของสิ่งตEาง ๆ เชEน ทัศนคติและพฤติกรรม การรับรและ
               พฤติกรรมการสื่อสาร ขั้นตEอมา สังเกตปรากฏการณด:วยการสำรวจ การทดลอง การสังเกตการณ การสัมภาษณ หรือการ
                                                                                          Q
                                                        Q
                                                                                                      Q
               ตรวจสอบเอกสารและวัตถุสิ่งของ จนได:รับคำตอบ ซึ่งก็คือทฤษฎีตEาง ๆ ที่อธิบายปรากฏการณQ ขั้นตอนของการแสวงหา
               ความรู:เพื่อพัฒนาทฤษฎีอธิบายได:ดังภาพ ที่  2.1
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27