Page 19 -
P. 19

ุ
                                  ิ
                                                             ิ
                                                                             ั
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                               ื
                                                 ิ
                                              ์
                                           ิ
                                                                                                           13



                        การวิจัยตามขนบสังคมและวัฒนธรรมให:ความสำคัญกับการศึกษาบริบท (Context) ของการสื่อสารด:วย เชน
                                                                                                            E
               การวิจัยตามแนวทางชาติพันธุQวรรณนา (Ethnography) เพื่อมุEงค:นหารูปแบบการสื่อสารรวมทั้งการสร:างความหมายผEาน

               ภาษาและพฤติกรรมของกลุEมสังคม


                                                                        ื
                                                                               :
                       ตัวอยEางงานวิจัยตามขนบสังคมและวัฒนธรรม เชEน การศึกษาเร่องการสรางและการสิ้นสุดความสัมพนธQประเภท
                                                                                                    ั
                                                                                                            E
               ตEาง ๆ ในองคQการ อาทิ ความสัมพันธQระหวEางเพื่อนรEวมงาน ความสัมพันธQระหวEางเจ:านายกับลูกน:อง โดยมีมุมมองวา
                                                                                                            ั
               ความสัมพันธQไมEใชEสิ่งที่อยูEภายนอกคูEสัมพันธQ แตEเปนสิ่งที่คูEสัมพันธQสร:างขึ้นทางจิตใจ (Mental creations) และขึ้นอยูEกบ
                                                       U
                                   ó
                                 :
                              ั
                             ิ
                                                                 ี
                                        ึ
               การส่อสาร ผ:ถกวจยไดเปดเผยถงการส่อสารในทางออมเพอเปล่ยนแปลงความสมพนธเชน การพดคยเฉพาะเร่องงาน การ
                                             ื
                                                            ่
                                                            ื
                                                        :
                                                                                          ู
                                                                                                    ื
                                                                                            ุ
                                                                               ั
                                                                             ั
                                                                                    E
                                                                                  Q
                           ู
                          ู
                    ื
                                                                                    ั
                                                                                                  E
                                                                        ิ
                                                                     E
                                                                                                           ี
                                                              ั
                                                                               ื
                                                                                                            ุ
                                                                                                       ุ
                                      ุ
                                ั
                            E
                                       ิ
               งดสนทนาเรื่องสวนตว การยตการทานอาหารกลางวันรEวมกน การไมทำกจกรรมอ่นรEวมกนนอกเวลางาน สวนเหตผลท่ยต ิ
               ความสัมพันธQ เชEน การทรยศหักหลัง ความคาดหวังที่ขัดแย:งกัน ปiญหาทางบุคลิกภาพ

                       7.  ทฤษฎีในกลุsมวิพากษ@ (The Critical Tradition)

                       นักทฤษฎีวิพากษQให:ความสนใจเรื่องความไมEยุติธรรม การกดขี่ อำนาจ และอุดมการณQที่ครอบงำในสังคม การ
               วิพากษQวิจารณQระเบียบสังคมเปUนหัวใจของทฤษฎีวิพากษQ นักทฤษฎีวิพากษQที่เปUนที่รู:จักมากที่สุดในการประท:วงระเบียบ
                                                                                                            ุ
               สังคม คือ นักปรัชญาและนักเศรษฐศาสตรQ ชื่อ Karl Marx มองวEาเศรษฐกิจเปUนพื้นฐานของโครงสร:างสังคม ในระบบทน
                                                                                         ้
               นิยม กำไรเปUนปiจจยทีกำหนดการผลิต ซึงเปUนกระบวนการทีนำไปสูการกดขีชนชันแรงงาน ชนชันแรงงานถูกแยEงชิงอำนาจ
                                                                             ้
                                                              ่
                                                                   E
                                               ่
                                ่
                                                                          ่
                              ั
               ในสังคม หนังสือเรื่อง “The Communist Manifesto” ของ Marx และ Friedrich Engels อธิบายวEาการเข:าใจ
               ประวัติศาสตรQสังคมได:ดีที่สุดต:องพิจารณาเรื่องการตEอสู:ทางชนชั้นในสังคม

                       นักทฤษฎีวิพากษQเห็นวEาการตั้งคำถามกับข:อตกลงเบื้องต:นที่ให:ทิศทางแกEสังคมเปนความชอบธรรมที่สามารถทำ
                                                                                     U
               ได: ผู:สื่อสารเข:าถึงความเชื่อและคEานิยมที่ชี้นำการตัดสินใจและการกระทำ นักทฤษฎีวิพากษQพยายามแก:ไขการนิยามคำวา
                                                                                                            E
               เสรีภาพ ความเสมอภาค และเหตุผล สิ่งเหลEานี้เปUนแกEนสำคัญของกลุEมทฤษฎีวิพากษQ ตัวอยEางทฤษฎีในกลุEมวิพากษQ เชน
                                                                                                            E
               สตรีนิยม (Feminism) ที่วิพากษQวิจารณQความไมEเทEาเทียมทางเพศและเสนอแนวทางการเปลี่ยนแปลงความสัมพันธQทาง
                                      U
               เพศ และการปลดปลEอยใหเปนอิสระจากการกดขี่กลุEมสังคมตEาง ๆ  สEวนแนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของสื่อมวลชน นักทฤษฎ ี
                                    :
               กลุEมวิพากษQมองสื่อมวลชนทั้งภาพยนตรQ เพลง สิ่งพิมพQ เปUน “อุตสาหกรรมผลิตวัฒนธรรม” ที่ผลิตซ้ำหรือเผยแพร E
               อุดมการณQหลักของวัฒนธรรมและหันเหความสนใจของคนจากการกระจายอำนาจอยEางไมEยุติธรรม
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24