Page 23 -
P. 23
ิ
ิ
ุ
ั
์
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ิ
17
คำถาม
ทฤษฎี การสังเกต
ภาพที่ 2.1 ขั้นตอนของการแสวงหาความรู: (Littlejohn, Foss, and Oetzel, 2017)
Q
จากภาพ 2.1 การแสวงหาความรู:มีลักษณะเปUนวงกลม แตEละขั้นต อนมีความสัมพันธและมีผลตEอกัน คำถาม
นำไปสูEการสังเกต ขณะเดียวกันผลจากการสังเกตชEวยพัฒนาทฤษฎี และทำให:เกิดคำถามใหมEขึ้น ดังที่กลEาวข:างต:นวา
E
Q
ทฤษฎีเปรียบเหมือนกับเลนสQถEายภาพและแผนที่ ทฤษฎีจึงกำหนดวิธีการหรือสิ่งที่ต:องสังเกตในปรากฏการณ ผลจากการ
สังเกตนำไปสูEการพัฒนาทฤษฎี และทฤษฎีทำใหเกิดประเด็นคำถามใหมEที่นำไปสูEการสังเกต เชEน ทฤษฎีการปลูกฝiงความ
:
จริง (Cultivation Theory) อธิบายอิทธิพลของสื่อในด:านการปลูกฝiงความจริง นำไปสูEการตั้งคำถามเกี่ยวกับการเปóดรบ
ั
ี
เนื้อหาสื่อบางประเภท เชEน เกมสQสEงผลตEอความคิดและพฤติกรรมของผู:รับสารหรือไมE ทฤษฎให:แนวทางและวิธสังเกต
ี
หรือศึกษาปรากฏการณQ คำตอบที่ได:รับอาจยืนยันถึงความแมEนยำของทฤษฎีในการอธิบาย หรืออาจทำให:เกิดการพัฒนา
ทฤษฎีให:สอดคล:องกับปรากฏการณQมากขึ้น และนำไปสูEคำถามอื่น ๆ อีก
องค@ประกอบของทฤษฎี
ื่
ทฤษฎีมี 4 องคQประกอบพื้นฐาน ได:แกE (1) ฐานคติทางปรัชญา (Philosophical assumptions) หรือความเชอ
พื้นฐานของทฤษฎี (2) มโนทัศนQหรือแนวคิด (Concepts) (3) คำอธิบาย (Explanations) (4) หลักการ (Principles)
หรือข:อชี้แนะการกระทำ (Littlejohn, Foss & Oetzel, 2017)
1. ฐานคติทางปรัชญา
ฐานคติทางปรัชญา (Philosophical assumptions) หรือความเชื่อพื้นฐานเปUนสิ่งที่กำหนดจุดยืนและ
แนวทางของทฤษฎี การเข:าใจฐานคติจึงเปUนจุดเริ่มต:นของการเรียนรู:ทฤษฎีตEาง ๆ ฐานคติทางปรัชญาประกอบด:วยความ
เชื่อเกี่ยวกับ (1) ญาณวิทยาหรือธรรมชาติของความรู: (Epistemology) (2) ภววิทยา เกี่ยวข:องกับธรรมชาติของการดำรง
อยูEหรือความจริง (Ontology) และ (3) คุณวิทยา หรือคุณคEา (Axiology)