Page 26 -
P. 26
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
์
ิ
ุ
ั
ิ
20
รุนแรงมาก ซึ่งในทางสังคมศาสตร ความสัมพันธQเชื่อมโยงระหวEางตัวแปรไมEใชEความสัมพันธQที่สมบูรณQ (Absolute
Q
connection) หรือเปUนจริงเสมอในทุกกรณีหรือในทุกสถานการณ แตEเปUนความสัมพันธQทมีความนEาจะเปUน (Probable
ี่
Q
relationship) ทฤษฎีจึงให:คำอธิบายวEาตัวแปรหนึ่งมักจะมีความเชื่อมโยงกับอีกตัวแปรหนึ่ง เชEน มีความเปUนได:ที่เด็กท ี่
เปóดรับความรุนแรงทางโทรทัศนQมากจะมีพฤติกรรมก:าวร:าวรุนแรง
ทฤษฎีให:คำอธิบายในเชิงเหตุผล (Causal explanations) เพื่อแสดงวEาตัวแปรหนึ่งเปUนผลที่เกิดขึ้นจากอก
ี
ตัวแปรหนึ่ง หรือความเชื่อมโยงกันโดยมีตัวแปรหนึ่งเปUนสาเหตุ และอีกตัวแปรเปUนผล นอกจากนี้ บางทฤษฎีอาจให :
คำอธิบายในเชิงปฏิบัติ (Practical explanations) เพื่อแสดงถึงการกระทำหรือปiจจัยที่นำไปสูEผลลัพธQอยEางใดอยEางหนง
ึ่
ิ
คำอธบายในทฤษฎีจึงเปUนแนวทางในการปฏิบัติงานได: เชEน ถ:าใช:แหลEงสารที่มีความนEาเชื่อถือก็จะทำให:การโน:มน:าวใจม ี
ประสิทธิผลมากขึ้น หรือการใช:สารสองด:านที่แสดงทั้งข:อดีและข:อเสียจะชEวยโน:มน:าวใจผู:รับสารได:มากกวEาสารที่นำเสนอ
แตEข:อดีด:านเดียว
4. หลักการ
หลักการ (Principles) เปUนองคQประกอบสุดท:ายของทฤษฎีที่ให:แนวทางในการตีความและพิจารณา
เหตุการณQหรือสิ่งที่เกิดขึ้น และตัดสินใจเลือกการกระทำที่เหมาะสมกับสถานการณQนั้นได: หลักการประกอบด:วย (1)
สถานการณQหรือเหตุการณQ (2) บรรทัดฐานหรือคุณคEา (3) การระบุความเชื่อมโยงระหวEางการกระทำและผลกระทบท ี่
นEาจะเกิดขึ้น เชEน ในการกลEาวสุนทรพจนQ (สถานการณQ) ผู:รับสารมีความสำคัญมาก (คุณคEา) ผู:พูดควรปรับสารให :
สอดคล:องกับความรู:และทัศนคติของผู:รับสาร (การกระทำที่นำไปสูEผลลัพธQ) อยEางไรก็ตาม บางทฤษฎีนำเสนอเพียงแค E
ื
คำอธิบายความเชื่อมโยงระหวEางแนวคิดหรือตัวแปรที่เกี่ยวข:องในปรากฏการณQเทEานั้น แตEไมEมีองคQประกอบหลักการหรอ
แนวทางปฏิบัติเพื่อให:บรรลุผลลัพธQอยEางใดอยEางหนึ่ง
กระบวนทัศน@ในการแสวงหาความรู,
Q
ั
ิ
ู
ี
:
ู
ั
ิ
ื
:
ทฤษฎีพัฒนาขึ้นมาจากการวจยหรอการแสวงหาความรเกี่ยวกับปรากฏการณ สEวนวธในการแสวงหาความรได:รบ
อิทธิพลจากกระบวนทัศนQ (Paradigm) ซึ่งเปUนระบบความคิดและความเชื่อเกี่ยวกับความจริง (Reality) ที่มีผลตEอแนวทาง
ู:
ในการแสวงหาความร การวิจัย การตั้งคำถาม และวิธีการสังเกตหรือศึกษาที่นำไปสูEการสร:างทฤษฎี แบEงเปUน 3 กระบวน
ทัศนQ ได:แกE (1) กระบวนทัศนQสังคมศาสตรQ (Social Scientific Paradigm) (2) กระบวนทัศนQการตีความ (Interpretive
Paradigm) และ (3) กระบวนทัศนQการวิพากษQ (Critical Paradigm) (Croucher, 2016)