Page 29 -
P. 29
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
์
ั
ุ
ิ
ิ
23
ในขณะที่กระบวนทัศนQสังคมศาสตรQเชื่อในแนวคิดเหตุวิสัยที่อธิบายวEาพฤติกรรมของมนุษยQมีสาเหตุจาก
ปiจจัยภายนอก (Determinism) นักพฤติกรรมศาสตรQอธิบายการกระทำของมนุษยQเปUนผลมาจากแรงผลักดันภายนอก
E
หรือการตอบสนองตEอสิ่งเร:าที่เกิดขึ้นกEอนหน:า ซึ่งเปUนการอธิบายในเชิงสาเหตุและผล แตEกระบวนทัศนQเชิงตีความเชื่อวา
มนุษยQมีเจตจำนงเสรี (Free will) หรือ แนวคิดเจตจำนงนิยม (Voluntarism) คือ สามารถเลือกตัดสินใจกระทำและ
ื
ตอบสนองสิ่งตEาง ๆ แตกตEางกันภายใต:สถานการณQได:เองบนพื้นฐานของเหตุผล กลEาวคือ การกระทำมาจากเจตนาหรอ
ความตั้งใจ ดังนั้น นักวิจัยจึงต:องพิจารณาและทำความเข:าใจความรู:สึกและกระบวนการตัดสินใจของมนุษยQ
ึ่
ทฤษฎีสำคัญของกระบวนทัศนQนี้ ได:แกE ทฤษฎีการตีความ หรืออรรถปริวรรตศาสตรQ (Hermeneutics) ซง
เปUนทฤษฎีการตีความหมายและการทำความเข:าใจตัวบท (Textual interpretation) ในชEวงแรกเน:นการตีความหมาย
เฉพาะตัวบทเกี่ยวกับศาสนา เชEน คัมภีรQไบเบิล ตEอมาขยายวงกว:างไปสูEตัวบทประเภทอื่นด:วย สิ่งสำคัญของการ
E
E
U
ตีความหมายตามแนวทาง Hermeneutics ได:แก วัตถุสิ่งของตาง ๆ ซึ่งก็คือตัวบท (Text) ในการวิเคราะหQ ผู:สังเกตเปน
E
สEวนหนี่งของปรากฏการณQ และไมสามารถแยกผู:สังเกตออกจากสิ่งที่ถูกศึกษาได: ดังนั้น ความเข:าใจและการตีความหมาย
ั
ตัวบทเดียวกันมีความแตกตEางกันไปตามการรับรู:และประสบการณQของบุคคล ความรู:จากการสังเกตจึงมีลักษณะอัตวิสย
(Subjective)
ทฤษฎีปรากฏการณQนิยม (Phenomenology) นักปรากฏการณQนิยม เชEน Martin Heidegger, Edmund
Husserl, Jean-Paul Sartre, Alfred Schultz มุEงศึกษา อธิบายและ วิเคราะหQโครงสร:างของประสบการณQและกิจกรรม
ของมนุษยQอยEางเปUนระบบ รวมทั้งการค:นหาความหมายของสิ่งตEาง ๆ ซึ่งมีความแตกตEางกันไปตามบุคคล เชEน อะไรคอ
ื
อาหารสุดพิเศษ แตEละคนก็จะอธิบายเมนู รสชาติ และรายละเอียดของอาหารที่แตกตEางกันไป
ทฤษฎีปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณQ (Symbolic interactionism) เน:นความสัมพันธQระหวEางสัญลักษณ Q
ปฏิสัมพันธQทางสังคม และโลกทางสังคม พื้นฐานของปฏิสัมพันธQเชิงสัญลักษณQ คือ ความคิด (จิตใจ) และปฏิสัมพันธQทาง
สังคม (ผู:อื่นและตัวเรา) ชEวยให:เข:าใจโลกที่อาศัยอยูE ความคิดของเราและปฏิสัมพันธQกับผู:อื่นได:วางรูปแบบความเข:าใจ
เกี่ยวกับสังคม เราให:ความหมายของตวเองและความเข:าใจตEอโลกรอบตัวผEานความหมาย ภาษา ความคิดหรือการ
ั
ตีความหมายที่เกิดขึ้นในใจ และปฏิสัมพันธQกับผู:อื่น
3. กระบวนทัศน@การวิพากษ @
Q
ุ
ทฤษฎีตามกระบวนทัศนQการวพากษQมีจดประสงคQเพื่อเขาใจถงอำนาจ (Power) อุดมการณ (Ideology) และ
ึ
:
ิ
การกดขี่ (Oppression) ในสังคม ซึ่งเปUนการใช:อำนาจของบุคคล กลุEม หรือองคQการเพื่อผลประโยชนQของตนเองมากกวา
E
Q
:
ั
ั
:
i
ี
ิ
:
ี
ี
Q
ผลประโยชนของกลEมอ่น และคนหาวธท่จะเปล่ยนแปลงความสมพนธทางอำนาจและแกไขปญหาการกดข่ได นกปรชญาท ี่
ื
ุ
ี
ั
ั
มีอิทธิพลตEอกระบวนทัศนQการวิพากษQ เชEน Georg Wilhelm Friedrich Hegel, Karl Heinrich Marx
อำนาจ คือ ความสามารถกระทำการเพื่อการเปลี่ยนแปลงของอีกฝèาย แบEงเปUน อำนาจจากการบังคับ โดยใช :
การขEมขูEหรือการลงโทษ อำนาจที่ได:รับมอบหมายหรืออำนาจตามกฎหมาย อำนาจจากความสามารถในการให:รางวัลหรอ
ื
ี
ื
ผลตอบแทนเมื่ออีกฝèายปฏิบัติตามความต:องการ ซึ่ง Hegel เชอวาวธคดของบุคคลเปUนตัวกำหนดถึงวิธีหรือแนวทางการใช :
ิ
E
ิ
่