Page 33 -
P. 33
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
ิ
27
ี
:
ื
ี
ั
Q
ั
:
:
ิ
สถานการณทางสงคมท่ยุEงยากซบซอนควรจะสามารถนำความรู:ในทฤษฎไปใชเพ่อเปนแนวทางการปฏบตหรือแกไขปญหา
i
ั
ิ
U
ได: เกณฑQประเมินข:อนี้สอดคล:องกับที่ Kurt Lewin อธิบายวEาไมEมีสิ่งใดที่ให:ประโยชนQในการปฏิบัติได:เทEากับทฤษฎีที่ดี
6. การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
การหาความรู:ด:วยวิธีวิทยาศาสตรQ ซึ่งเปUนการวิจัยเชิงปริมาณให:ความสำคัญกับ “ตัวเลข” ในการเกบ
็
รวบรวมหลักฐานเพื่อสนับสนุนทฤษฎี และมักใช: “การเปรียบเทียบความแตกตEาง” (Comparison of differences)
ระหวEางกลุEมหรือตัวแปรที่ทดลอง เนื่องจากนักวิจัยเชิงวัตถุวิสัยมีเปาหมายในการสะท:อนความเปUนจริง ใช:การวัดและ
©
รายงานสิ่งที่ค:นพบด:วยตัวเลขมากกวEาที่จะเปUนภาษาหรือคำพูดที่เปóดตEอการตีความ David Hume นักปรัชญาชาวสก†อต
แลนดQย้ำวEาการวิจัยเชิงปริมาณมีความเหนือกวEาการวิจัยเชิงคุณภาพ ตัวเลขมีความนEาเชื่อถือมากกวEาคำพด นักทฤษฎีเชง ิ
ู
วัตถุวิสัยใช:การทดลอง (Experiments) และการสำรวจ (Surveys) ในการทดสอบความแมEนยำในการทำนายของทฤษฎี
การทดลอง เปUนการวิจัยภายใต:ข:อสันนิษฐานวEาพฤติกรรมของมนุษยQไมEได:เกิดขึ้นโดยบังเอิญ ผู:ทดลอง
ุ
พยายามสร:างความสัมพันธQเชิงสาเหตุและผลโดยการทดลองกับปiจจัยหนึ่ง (ตัวแปรอิสระ) ในสถานการณQที่มีการควบคม
ั
ี
ึ
ู
ั
i
ึ
ี
เพ่อศกษาผลกระทบท่มตออีกปจจัยหน่ง (ตวแปรตาม) เชEน สารท่ใช:จุดจงใจความกลว (Fear appeal) ทำให:มีความตั้งใจ
ื
ี
E
เลิกสูบบุหรี่หรือไมE ผู:วิจัยจัดการทดลองโดยเปรียบเทียบระดับความตั้งใจที่จะเลิกสูบบุหรี่ของผู:รับสารที่ได:เปóดรับสารที่ใช :
จุดจูงใจความกลัวกับผู:รับสารที่ได:เปóดรับสารที่ใช:จุดจูงใจอื่น การวิจัยเชิงทดลองจะทำให:ได:ทราบประสิทธิผลของการ
สื่อสารในรูปแบบตEาง ๆ
:
ิ
ู
ั
:
ี
็
การสำรวจ โดยการใชแบบสอบถามหรอการสมภาษณแบบมโครงสรางเกบรวบรวมขอมล นกวจยเชงสำรวจ
ื
ิ
:
Q
ั
ั
อาศัยข:อมูลทกลุEมตัวอยEางไดรายงานตนเอง (self-reported data) เกยวกบพฤตกรรมในอดต และสิ่งที่คิดในปiจจุบัน หรือ
ี
ี
่
ั
:
ี่
ิ
ตั้งใจจะทำ เชEน การศึกษาผลกระทบของสื่อโดยใช:ระเบียบวิธีเชิงสำรวจในการตอบปiญหาการวิจัย “คนที่รับชมเนื้อหา
ความรุนแรงทางโทรทัศนQในปริมาณมากมีความเชื่อวEาโลกรอบตัวเปUนสถานที่ที่นEากลัวหรือโหดร:ายมากเกินความเปUนจรง ิ
หรือไมE” ผู:วิจัยจะมีคำถามเกี่ยวกับจำนวนชั่วโมงตEอวันในการชมโทรทัศนQ และคำถามที่วัดการรับรู:โอกาสที่ตนเองจะตก
เปUนเหยื่อของความรุนแรง ผลวิจัยพบความสัมพันธQเชิงบวกระหวEางปริมาณการชมโทรทัศนQกับระดับความกลัว แต E
ึ
สหสัมพันธQระหวEางสองตัวแปรไมEได:แสดงถึงความสัมพันธQเชิงสาเหตุและผล การสำรวจเปUนวิธีศึกษาสิ่งที่คนกำลังคิด รู:สก
และตั้งใจจะกระทำ ซึ่งเปUนองคQประกอบสำคัญของทัศนคต ิ
เกณฑ@ในการประเมินทฤษฎีเชิงตีความ
นักวาทศิลปû นักทฤษฎีวิพากษQ และนักตีความอื่นเห็นวEาทฤษฎีเชิงการตีความควรมีลักษณะตามเกณฑQตEอไปน ี้
ได:แกE การระบุคุณคEา การสรางความเข:าใจ การจุดประกายด:านสุนทรียะ การกระตุ:นความเห็นชอบ (agreement) การ
:
ปฏิรูปสังคม และการทำวิจัยเชิงคุณภาพ เกณฑQทั้ง 6 ในการประเมินทฤษฎีเชิงการตีความมีดังนี้