Page 37 -
P. 37

ุ
                                           ิ
                                                                             ั
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                             ิ
                                              ์
                                  ิ
                                                 ิ
                               ื
                                                                                                           31

               มนุษยQเปUนผู:ตัดสินใจเลือกและวางแผนการกระทำในการบรรลุเป©าหมาย ทฤษฎีก็ไมEควรจะอธิบายและทำนายพฤติกรรม
               ของมนุษยQด:วยเหตุการณQหรือปiจจัยที่เปUนสาเหตุ และไมEเหมาะสมที่จะศึกษาเพื่อสำรวจถึงเหตุผลที่บุคคลกระทำสิ่งตEาง ๆ
               ถ:าหากนักวิชาการมีฐานคติที่เชื่อวEาพฤติกรรมของมนุษยQได:รับอิทธิพลจากจิตไร:สำนึก


                       3.  คุณคsาในด,านการกระตุ,นการเรียนรู, (Heuristic value)


                          คุณคEาในด:านการกระตุ:นการเรียนรู: หมายถึง ทฤษฎีสามารถสร:างความคิดหรือคำถามใหมEในการวิจย
                                                                                                            ั
               แสวงหาความรู: สร:างสมมติฐาน แนวคิดหรือตัวแปรใหมE ๆ และนำไปสูEการพัฒนาทฤษฎีอื่นเพิ่มเติมหรือไมE หรือทฤษฎีม ี

               คุณคEาในด:านการให:ความคิดใหมEโดยการสำรวจสถานการณQใหมE ๆ หรือไมE ซึ่งถ:าทฤษฎีกระตุ:นให:เกิดคำถามหรือการ
               สำรวจสถานการณQใหมEก็จะชEวยพัฒนาทฤษฎีที่ให:คำอธิบายและประยุกตQใช:กับสถานการณQได:กว:างขึ้น (Generality)

               โดยทั่วไปทฤษฎีทำหน:าที่เปUนเครื่องมือชEวยในการเรียนรู: การคนพบ และการแก:ไขปiญหา แตEก็มีคุณคEาในด:านการกระตน
                                                                :
                                                                                                            ุ:
               ให:เกิดความคิดและการเรียนรู:ใหมEตEางกัน


                       4.  การนำไปใช,ปฏิบัติได, (Practicality)


                                                                                                            U
                          ทฤษฎีที่ดีต:องนำไปใช:ปฏิบัติในสถานการณQหรือปiญหาในชีวิตจริงได: สำหรับทฤษฎีการสื่อสารที่ดีก็ควรเปน
                            :
               ทฤษฎีที่ชEวยใหตัดสินใจเกี่ยวกับการสื่อสารในบริบทตEาง ๆ ได:ดีขึ้น เชEน การสื่อสารในกลุEม การสื่อสารระหวEางบุคคล
               ทฤษฎไมEควรเปUนนามธรรมมากจนไมEสามารถนำไปประยุกตQใช:กับการสื่อสารในชีวิตประจำวันได: การประเมินทฤษฎีการ
                    ี
               สื่อสารตามเกณฑQนี้ต:องพิจารณาวEาทฤษฎีไมEเพียงแตEใช:ในการวิจัยได:เทEานั้น แตEยังต:องให:ประโยชนQกับการปฏิบัติงาน

               ทางด:านการสื่อสารได:ด:วย เชEน ชEวยวางแผนการสื่อสารให:บรรลุวัตถุประสงคQได:


                                 ี่
                       5.  ความเทยงตรง (Accuracy)


                                                                                                       E
                                                                                     Q
                                                               ี
                                                                ี
                                                                        :
                          ความเท่ยงตรง ในท่น้ไมได:หมายความวEาทฤษฎท่ดีต:องสะทอนประสบการณสEวนตัวอยEางถูกต:องแมนยำ แต E
                                          ี
                                ี
                                             E
                                           ี
               หมายความวาคำอธบายของทฤษฎีต:องมาจากผลงานวจยที่มีการดำเนินงานอยEางเปUนระบบ ดังนั้น ในการประเมินคุณภาพ
                         E
                                                          ั
                               ิ
                                                         ิ
                                                                                                            :
               ของทฤษฎีตามเกณฑQความเที่ยงตรง จึงต:องพิจารณาวEางานวิจัยตEาง ๆ ที่ใช:ทฤษฎีนี้เปUนแนวทางการแสวงหาความรู:ให:ขอ
               ค:นพบที่สนับสนุนหรือสอดคล:องกับคำอธิบายของทฤษฎีหรือไมE

                       6.  ความกระชับ (Succinctness)

                          เปUนการประเมินทฤษฎีในด:านการให:คำอธิบายที่งEาย กระชับ กะทัดรัด มีแนวคิดหรือขั้นตอนน:อยเพื่อให :
                                                                                                            ั
               เข:าใจได:งEาย เชEน ทฤษฎีที่อธิบายพฤติกรรมด:วยตัวแปรรางวัลเพียงตัวเดียว ถือวEาเปUนทฤษฎีที่มีเกณฑQความกระชบ
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42