Page 32 -
P. 32

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                             ิ
                                                                                     ุ
                                                                             ั
                                                 ิ
                               ื
                                  ิ
                                              ์
                                           ิ
                                                                                                           26

                                                                                                            ็
               บุคคล บางทฤษฎีทำนายวEาการสื่อสารของบุคคลขึ้นอยูEกับปiจจัยตEาง ๆ เชEน คนหลีกเลี่ยงการเปóดรับสารที่ตนเองไมEเหน
               ด:วยเพื่อไมEให:ต:องเกิดความขัดแย:งทางความคิด (Cognitive dissonance) จะเห็นวEาทฤษฎีเหลEานี้ทำนายเกี่ยวกบ
                                                                                                            ั
               พฤติกรรมการสื่อสาร

                       2.  การอธิบายข,อมูล (Explanation of the Data)


                          ทฤษฎีวัตถุวิสัยที่ดีสามารถอธิบายเหตุการณQหรือพฤติกรรมของมนุษยได Abraham Kaplan นักปรัชญา
                                                                                    :
                                                                                  Q
                                                                               ี
                                        U
                                                                                ี
                                                                               ่
                                      ี
                                                                    ี
                                                              Q
                                                                                                            ั
                                                                                                  :
               วิทยาศาสตรQอธิบายวEาทฤษฎเปนวิธีในการเข:าใจสถานการณ ทฤษฎสังคมศาสตรQทดอธิบายกระบวนการ ใหความสนใจกบ
               สิ่งที่สำคัญในปรากฏการณQ และมองข:ามสิ่งที่ให:ความความแตกตEางเพียงเล็กน:อย ทฤษฎีมีอำนาจในการทำนาย แตEขาด
               การอธิบายเหตุผลวEาทำไมจึงเปUนเชEนนี้ เชEน ทฤษฎีอธิบายวEาความหวาดกลัวในการสื่อสาร (Communication
               apprehension) เปUนคุณลักษณะของคนที่ประหมEาและรู:สึกกระวนกระวาย แตEขาดการอธิบายถึงสาเหตุของอาการ
               ประหมEาของผู:สื่อสาร ทฤษฎีเพียงแคEทำนายวEาคนที่มีอาการประหมEามีความหวาดกลัวหรือวิตกกังวลในการสื่อสาร

                       3.  ความงsาย (Simplicity)


                          ทฤษฎีเชิงวัตถุวิสัยที่ดีมีความงEายในการอธิบาย ไมEซับซ:อน เปรียบเทียบได:กับการวาดภาพระบบที่ซับซ:อน
               ด:วยภาพแสดงขั้นตอนงEาย ๆ  ทฤษฎีตัดข:อสันนิษฐาน ตัวแปร หรือแนวคิดที่ไมEจำเปUนในการอธิบายปรากฏการณQ กลEาวคือ

               ใช:กฎของการประหยัดแนวคิด (Rule of parsimony) ในการอธิบายปรากฏการณQด:วยแนวคิดที่จำเปUนเทEานั้น เพื่อให :
               เข:าใจได:งEายที่สุด ถ:าเหตุการณQเดียวกันมีคำอธิบาย 2 รูปแบบ คำอธิบายในรูปแบบที่งEายจะได:รับการยอมรับมากกวEา


                       4.  การทดสอบสมมติฐานได, (Testable hypotheses)

                          ทฤษฎีเชิงวัตถุวิสัยที่ดีต:องทดสอบได: ถ:าการทำนายผิด ควรมีวิธีแสดงให:เห็นความผิดพลาด Karl Popper
                                                                                                            ็
               เรียกวEา “ความสามารถพิสูจนQผิดได:” (Falsificability) ซึ่งเปUนคุณลักษณะสำคัญของทฤษฎีวิทยาศาสตรQ สามารถเกบ
                                                                                                E
               รวบรวมหลักฐานหรือข:อมูลมาพิสูจนQได: บางทฤษฎีแสดงคำอธิบายในลักษณะที่พิสูจนQหรือทดสอบไมได: กลEาวคือ ไม E
               สามารถรวบรวมหลักฐานที่ชัดเจนมาพิสูจนQข:อสรุปของทฤษฎีได: ดังนั้น จึงเปUนไปไมEได:ที่จะเก็บรวบรวมหลักฐานท ี่
               สนับสนุนข:อสรุปของทฤษฎีด:วยเชEนกัน


                       5.  ประโยชน@ในการปฏิบัติ (Practical Utility)


                                                                                            Q
                                 ิ
                          ทฤษฎีเชงวัตถุวิสัยที่ดีต:องให:ประโยชนQในการนำไปปฏิบัติ เนื่องจากสังคมศาสตรมีเป©าหมายชEวยให:คน
               ควบคุมชีวิตประจำวันตนเองได:มากขึ้นหรือทำงานใหบรรลุเป©าหมายได:ตามความต:องการมากขึ้น คนที่เผชิญกบ
                                                                                                            ั
                                                            :
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37