Page 35 -
P. 35

ิ
                                           ิ
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                               ื
                                              ์
                                                                             ั
                                                                                     ุ
                                                 ิ
                                                             ิ
                                                                                                           29

                       5.  การปฏิรูปสังคม (Reform of Society)

                          ทฤษฎีการตีความที่ดีมักจะสEงผลให:มีการเปลี่ยนแปลง ไมEใชEเพียงแคEการตีความความหมายของตัวบท (Text)
                                                                                            Q
               เทEานั้น นักตีความเชิงวิพากษQเปUนผู:ปฏิรูปที่สามารถมีผลกระทบตEอสังคม ต:องการตEอต:านอุดมการณที่ได:รับการยอมรับใน
                                                                                                            :
               วัฒนธรรม Kenneth Gergen นักจิตวิทยาสังคมแหEง Swarthmore College อธิบายวEาทฤษฎีมีความสามารถท:าทายขอ
               สันนิษฐานที่ให:ทิศทางตEอสังคม ตั้งคำถามเบื้องต:นเกี่ยวกับชีวิตรEวมสมัย สนับสนุนให:มีการพิจารณาใหมEสิ่งที่ยอมรับใน

               สังคมกันใหมE และสร:างทางเลือกใหมEของการกระทำในสังคม (Social action)
                          นักทฤษฎีวิพากษQมองวEาสถาบันเศรษฐกิจ การเมือง สังคม ศาสนา และการศึกษาถูกสร:างขึ้นจากปฏิบัติการ

                                       ี่
               ทางการสื่อสารที่ไมEยุติธรรมทสEงผลให:เกิดความไมEสมดุลทางอำนาจในสังคม เป©าหมายของนักทฤษฎีวิพากษQ คือ การ
               เปóดเผยปฏิบัติการการสื่อสารเพื่อสEงเสริมการเปลี่ยนแปลงและสร:างพื้นที่ให:กับคนที่ไรอำนาจในสังคม
                                                                                 :

                       6.  การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)


                          ในขณะที่นักวิทยาศาสตรQใช:ตัวเลขในการสนับสนุนทฤษฎี นักวิชาการสายตีความใช:คำพูด (Words) ซึ่งเปน
                                                                                                            U
               ความแตกตEางพื้นฐานของการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ นักวิจัยเชิงคุณภาพศึกษาสิ่งตEาง ๆ ในสภาพธรรมชาติ ทำ

                                            ื
               ความเข:าใจ หรอตีความปรากฏการณในแงของความหมายที่คนมีตEอปรากฏการณ เครองมือของการวจัยเชิงคุณภาพ ได:แกE
                                                                                             ิ
                                                                                 ่
                                                                                 ื
                                                E
                                                                              Q
                           ื
               การสัมภาษณQด:วยคำถามปลายเปóด การสนทนากลุEม การวิเคราะหQตัวบท (Textual analysis) และการวิจัยชาติพันธQ
               วรรณา (Ethnography) เปUนสองวิธีที่ใช:กันบEอยในการศึกษาการใช:สัญญะและสัญลักษณQในการสร:างสรรคQความหมาย
                          การวิเคราะห@ตัวบท (Textual analysis) มีเป©าหมายในการอธิบายและตีความสาร (Message) การ
               วิจารณQเชิงวาทศิลปû (Rhetorical criticism) เปUนรูปแบบที่พบมากในการวิจยตัวบทในสาขาวิชาการสื่อสาร เชEน นก
                                                                                                            ั
                                                                            ั
               วิจารณQเชิงวาทศิลปûตั้งคำถามในการวิจัยวEา “การใช:ภาษาในสุนทรพจน “I Have a Dream” ของ Martin Luther King
                                                                       Q
               แสดงถึงความตั้งใจในเชิงกลยุทธQใด” ซึ่งต:องใช:การศึกษาตัวบทหรือสุนทรพจนQและบริบทในขณะนั้นอยEางละเอียด และม ี
               ข:อสรุปวา King พยายามดึงดูดผู:รับสารจำนวนมากโดยไมEสร:างความบาดหมางให:กับกลุEมใดเลย
                      E
                                                                           ี
                                                                                                            U
                          การวิจัยชาติพนธ@วรรณา (Ethnography) เปนแนวทางการตความเพอคนหาความหมาย (Meaning) เปน
                                                                                 ่
                                                                                   :
                                      ั
                                                               U
                                                                                 ื
               วิธีการวิจัยโดยการสังเกตการณQแบบมีสEวนรEวมเพื่อให:มีประสบการณQกับความหมายที่ซับซ:อนภายในวัฒนธรรมหนึ่ง
                                                                                           ั
                                                                                                   ิ
                                                                                                         ี
                                                                                                  ี
                                         ิ
                                                ี
                          เกณฑในการประเมนทฤษฎเชงวัตถวิสยหรือเชงวิทยาศาสตรQ (Scientific Theory) กบทฤษฎเชงการตความ
                               Q
                                                        ั
                                                              ิ
                                                      ุ
                                                 ิ
               (Interpretive Theory) สรุปได:ดังตารางที่ 2.1
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40