Page 39 -
P. 39

ิ
                                  ิ
                                                 ิ
                                              ์
                โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                 ี
                                                                             ั
                               ื
                                                                                     ุ
                                                             ิ
                                                                                                           33

                                                           บทที่ 3
                                                  ทฤษฎีการสื่อสารภายในบุคคล

                       การสื่อสารภายในบุคคล (Intrapersonal communication) เกี่ยวข:องกับกระบวนการรู:คิด (Cognitive

               process) ซึ่งมีบทบาทสำคัญตEอการสื่อสารและการตีความหมายของสาร (Messages) บุคคลมีการคิดเพื่อประมวลและ
               ตีความหมายสาร ความหมายไมEได:อยูEในตัวสาร คำพูด หรือพฤติกรรม แตEความหมายเกิดขึ้นภายหลังจากที่บุคคลได:รับร ู:

               และให:ความหมายกับสาร และความหมายจากการตีความก็จะสEงผลตEอการแสดงออกและสื่อสารกับอีกฝèาย กระบวนการ
               ที่เกิดขึ้นภายในบุคคลจึงเปUนรากฐานที่สำคัญตEอการสื่อสารมาก

                              ี
                                 ิ
                                   ิ
                              ่
                               ั
                       ในขณะทนกจตวทยาในสาขาวิชาพฤติกรรมศาสตร (Behaviorism) อธิบายวEาพฤติกรรมของมนุษยQเปUนผลมาจาก
                                                             Q
               ปiจจัยภายนอก ซึ่งมาจากงานของ Pavlov ที่ศึกษาผลที่เกิดขึ้นกับสุนัขหลังจากการเชื่อมโยงสิ่งเร:าอาหารกับเสียงกระดง ิ่
               เข:าด:วยกัน ปรากฏวEาสุนัขมีอาการน้ำลายไหลเมื่อได:ยินเสียงกระดิ่ง นักจิตวิทยา เชEน Watson และ Skinner อธิบายวา
                                                                                                            E
               เราไมEสามารถสังเกตกระบวนการในจิตใจได เราจึงต:องให:ความสนใจกับสาเหตภายนอกหรือสิ่งเร:าที่สEงผลตEอพฤติกรรม
                                                                             ุ
                                                  :
               การตอบสนอง
                                                                                                            ิ
                       อยEางไรก็ตาม ในชEวงกลางทศวรรษ 1900 นักจิตวิทยา เชEน Noam Chomsky เริ่มสนใจศึกษาเรื่องการรู:คด
               (Cognition)  ซึ่งเปUนกระบวนการในจิตใจที่ทำหน:าที่ประมวลความหมายของสิ่งเร:า และเปUนสาเหตุให:เกิดการตอบสนอง
               ทางพฤติกรรมของมนุษยQ การรู:คิดครอบคลุมถึงการคิดพิจารณา การให:ความหมายแกEสิ่งเร:า เปUนปiจจัยภายในที่สEงผลให :
               เกิดพฤติกรรมการแสดงออกรวมถึงการสื่อสาร ตรงข:ามกับนักพฤติกรรมศาสตรQที่อธิบายวEาพฤติกรรมการตอบสนองของ

               มนุษยQเปUนผลมาจากสิ่งเร:าหรือปiจจัยภายนอก
                       ทฤษฎีเกี่ยวกบการรู:คิดและการสื่อสารภายในบุคคล ได:แกE (1) ทฤษฎีการให:เหตุผลของพฤติกรรม (Attribution
                                 ั
               Theory) อธิบายเรื่องกระบวนการระบุสาเหตุหรือแรงจูงใจในการกระทำของตนเองและของผู:อื่น (2) ทฤษฎีการลดความ
               ไมEแนEใจ (Uncertainty Reduction Theory) อธิบายและทำนายการพบปะกันครั้งแรก หรือสิ่งที่เปUนแรงขับให:เริ่มมีการ

               สื่อสาร และวิธีลดความไมEแนEใจในการมีปฏิสัมพันธQครั้งแรกกับผู:อื่น (3) ทฤษฎีการละเมิดความคาดหวัง(Expectancy
               Violations Theory) ทำนายและอธิบายพฤติกรรมของบุคคลเมื่อพฤติกรรมการสื่อสารของอีกฝèายผิดไปจากการ

               คาดหมาย (4) ทฤษฎความไมEสอดคล:องทางความคิด (Cognitive Dissonance Theory) อธิบายถึงสาเหตุและผลของ
                                ี
               ความขัดแย:งทางความคิดและพฤติกรรมของบุคคล ทฤษฎีเหลEานี้อธิบายกระบวนการภายในใจที่สEงผลตEอการกำหนด
               ความหมายของสารที่ได:รับแตกตEางกันไปตามบุคคล



               ทฤษฎีการให,เหตุผลของพฤติกรรม (Attribution Theory)

                       ทฤษฎีการให:เหตุผลของพฤติกรรม (Attribution Theory)  อธิบายกระบวนการคิดเพื่อระบุสาเหตุของพฤติกรรม

               ทั้งของตนเองและผู:อื่น โดยปกติคนเรามีความคล:ายคลึงกับนักสืบที่พยายามเข:าใจและอธิบายสาเหตุของเหตุการณQและ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44