Page 42 -
P. 42
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
์
ั
ุ
ิ
ิ
36
ิ
E
(1) ความสอดคล,องกัน (Consensus) เปนการพจารณาวาคนอื่น ๆ จะกระทำหรือมพฤติกรรมที่คล:ายคลึงกัน
U
ี
ี
ิ
หรือไมEในสถานการณQเดียวกันนี้ ถ:าคนอื่นมีพฤตกรรมคล:ายคลึงหรือแบบเดียวกันแสดงวEามความสอดคล:องกันในการ
กระทำ เชEน วิชัยเข:าชั้นเรียนสาย ขณะที่คนอื่น ๆ เข:าชั้นเรียนทันเวลา แสดงถึงความสอดคล:องของการกระทำต่ำ แตEถา
:
คนอื่นเข:าชั้นเรียนสายเหมือนกันกับวิชัย แสดงวEามีความสอดคล:องกันสูง
(2) ความคงเส,นคงวา (Consistency) หมายถึง การมีพฤติกรรมแบบเดียวกันหลาย ๆ ครั้งในชEวงเวลาที่ผาน
E
ี
ิ
มา ถ:าบุคคลมีการกระทำแบบเดียวกัน แสดงวาพฤติกรรมมีความคงเส:นคงวาสูง เชEน วชัยเข:าชั้นเรยนสายอยูEเสมอในชEวงท ี่
E
ผEานมา การเข:าเรียนสายครั้งนี้ไมEแตกตEางไปจากพฤติกรรมที่ผEานมา แสดงวEาการกระทำนี้มีความคงเส:นคงวาสูง ในทาง
ิ
ี
ี
กลับกัน ถ:าโดยปกติวิชัยเข:าเรยนทันเวลามาตลอด แทบจะไมEเคยมาสายเลย พฤตกรรมการมาเรยนสายจึงมีความคงเส:นคง
วาต่ำ
ื
(3) ความพิเศษหรือความแตกตsาง (Distinctiveness) เปUนการพิจารณาวEาบุคคลมีการกระทำเหมือนหรอ
แตกตEางกันในสถานการณQอื่น ความพิเศษหรือความแตกตEางจะต่ำถ:าบุคคลนั้นมีพฤติกรรมที่คล:ายคลึงกันในสถานการณ Q
ั
ั
:
ื
:
:
ี
็
:
ั
E
:
ื
อ่นดวย เชน ถาวิชยเขาช้นเรียนวิชาน้สาย และในวิชาอ่น ๆ วิชยกเขาหองเรียนสายดวยเหมอนกน แสดงวEาพฤติกรรมการ
:
ื
ั
มาเรียนสายมความพิเศษแตกตEางในระดับต่ำ แตEถ:าในวิชาอื่น ๆ วิชัยเข:าห:องเรียนตรงเวลา จะมีวิชานี้เทEานั้นที่เข:าเรียน
ี
สาย แสดงวEาพฤติกรรมการมาเรียนสายมีความพิเศษแตกตEางสูง
การพิจารณาปiจจัยทั้ง 3 ข:างต:นประกอบกัน (ความสอดคล:องกัน ความคงเส:นคงวา และความพิเศษแตกตEาง) จะ
ั
ทำให:ตัดสินได:วEาพฤติกรรมของบุคคลมีสาเหตุมาจากปiจจัยภายในบุคคล (Internal attributions) หรือจากปiจจย
สถานการณQภายนอก (Situational attributions) ซึ่งความสามารถในการควบคุมพฤติกรรมเปUนสิ่งที่ชEวยประเมินวEาการ
กระทำของบุคคลเปUนผลมาจากปiจจัยภายในหรือภายนอก กลEาวคือ เราจะตัดสินวEาสาเหตุของพฤติกรรมมาจากปiจจย
ั
ิ
ภายในถาเหนวาผ:กระทำสามารถควบคมพฤตกรรมนนได และจะตดสนวาพฤตกรรมเกดจากปจจยภายนอกถาพจารณาวา
:
ั
ิ
i
E
ั
ิ
:
:
ิ
E
็
ู
ุ
E
ั
้
ิ
ผู:กระทำหลีกเลี่ยงไมEได:ที่จะแสดงพฤติกรรมนั้น เราสามารถประเมินสาเหตุของการกระทำของบุคคลหนึ่งได:จากปiจจัยใด
ปiจจัยหนึ่งเทEานั้น เชEน พิจารณาจากความสอดคล:องกันระหวEางพฤติกรรมของบุคคลนนกับผู:อื่น อยEางไรก็ตาม การ
ั้
ประเมินจากทั้ง 3 ปจจัยประกอบกันจะยิ่งเพ่มความแมนยำในการระบเหตผลของพฤตกรรมได:มากขึ้น ถ:าความสอดคล:อง
E
ิ
i
ุ
ิ
ุ
ุ
กันสูง ความคงเส:นคงวาต่ำ และความพิเศษแตกตEางสูง ก็เปUนไปได:อยEางมากที่การกระทำมสาเหตจากปiจจัยสถานการณ Q
ี
เชEน วันหนึ่งลัดดาพูดคุยกับเพื่อนรEวมงานในฝèายการตลาดน:อยและมีอารมณQขุEนมัว ถ:าพบวEาคนอื่นในฝèายเดียวกันในวันน ี้
Q
ู
พูดน:อยและอารมณไมEดีเหมือนกัน (ความสอดคล:องกันสูง) และโดยปกติลัดดาพดคุยเกEง อารมณดี (ความคงเส:นคงวาต่ำ)
Q
ั
อีกทั้งในสถานการณQอื่นหรือในการติดตEอกับฝèายอื่น ๆ ลดดารEาเริงแจEมใส และพูดคุยเกEง (ความพิเศษแตกตEางสูง) ก ็
สันนิษฐานได:วEาพฤติกรรมของลัดดามีสาเหตุจากปiจจัยภายอกหรือสถานการณ เปUนไปได:มากที่มีเหตุการณQใดเกิดขึ้นและ
Q
สEงผลให:ลัดดาอารมณQไมEดี พูดคุยน:อยลง
ื่
ทฤษฎีการให:เหตุผลอธิบายถึงการค:นหาสาเหตุหรือแรงจูงใจในการแสดงพฤติกรรมทั้งของตัวเองและของผู:อน
โดย Heider ตรวจสอบปiจจัยทางด:านอุปนิสัยและลักษณะของบุคคลกับปiจจัยทางสถานการณQ สEวน Jones และ Davis
ื
ั
ั
ใหความสนใจกบเร่องความต้งใจของผ:กระทำท่ผลกดนพฤตกรรมจากบุคลิกภาพและอุปนิสัย (Dispositional behaviors)
:
ั
ิ
ั
ู
ี