Page 8 -
P. 8
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ิ
์
ุ
ั
ิ
ิ
ิ
2
หาวในขณะที่ฟiงการนำเสนองานจากหัวหน:า ก็ไมEนับวEาเปUนการสื่อสาร ถ:าการหาวนั้นเปUนการตอบสนองทางกายภาพตอ
E
ความเหนื่อยล:ามากกวาที่จะเปUนการตั้งใจสEงสารเพื่อแสดงความเบื่อหนEายตEอการนำเสนองานของหัวหน:า ในขณะที่บางคำ
E
นิยามมุEงเน:นที่ผู:รับสาร (Receiver orientation) และอธิบายวEา “เราไมEสามารถที่จะไมEสื่อสารได:” (We cannot not
communicate) เพราะวEาคำพูดหรือการกระทำใดก็ตามล:วนเปUนการสื่อสารทั้งสิ้น ไมEวEาจะมาจากความตั้งใจหรือไมEตั้งใจ
ของผู:สEงสาร การสื่อสารจึงไมEได:หมายถึงเฉพาะการถEายทอดสารอยEางตั้งใจในรูปแบบของคำพูดเทEานั้น แตEยังรวม
กระบวนการและพฤติกรรมทั้งหมดที่บุคคลหนึ่งมีอิทธิพลตEอผู:อื่น ดังนั้น ถ:าหัวหน:าตีความวEาการหาวของลูกน:องแสดงถง ึ
E
E
ื
็
E
ื
U
็
E
ื
ิ
E
็
ั
ั
:
ู
ิ
:
E
ความเบ่อหนายกถอวาเปนการส่อสาร ไมวาลกนองจะต้งใจสงสารดวยพฤตกรรมน้นหรอไมกตาม จะเหนวาตามคำนยามน ี้
E
ื
การสื่อสารจะเกิดขึ้นเมื่อมีการตีความหมายของผู:รับสารตEอคำพูดและการกระทำหรือพฤติกรรมของอีกฝèาย เมื่อทก
ุ
พฤติกรรมสื่อความหมายได:ทั้งสิ้น จึงเปUนที่มาของคำกลEาวที่วEา “เราไมEสามารถที่จะไมEสื่อสาร” แม:แตEการนั่งครุEนคิดอยEาง
เงียบ ๆ ก็เปUนพฤติกรรมที่สื่อความหมายได:เชEนกัน
3. การพิจารณาผลของการสื่อสาร (Normative judgement) เปUนมิติในด:านความสำเร็จหรือความถูกต:อง
ของการสื่อสาร บางคำนิยามอธิบายวEาแม:วEาผู:สื่อสารสองฝèายจะเข:าใจความหมายสารไมEตรงกัน ก็ยังถือวEาการสื่อสารได :
เกดขนแลว เชน “การสื่อสารเปUนการถEายทอดข:อมูล ความคิด อารมณ ทักษะ และอื่น ๆ โดยการใช:สัญลักษณ เชEน คำพด
ู
Q
ิ
้
ึ
Q
:
E
รูปภาพ ตัวเลข แผนภูมิ เปUนต:น ซึ่งเปUนการกระทำหรือการถEายทอดที่เรียกวEาการสื่อสาร” ตามคำนิยามน ประเด็นสำคญ
ี้
ั
อยูEที่ “การถEายทอดสาร” (Transmission) ไมEใช “ความเข:าใจ” (Understanding) ดังนั้น แม:วEาลูกน:องไมEเข:าใจสิ่งท ี่
E
ี่
หัวหน:าพูด ก็ยังถือวEาการสื่อสารได:เกิดขึ้นแล:ว แตEเปUนการสื่อสารทขาดประสิทธิผล
บางคำนิยามจำกัดเฉพาะการสื่อสารที่ผู:รบสารและผู:สEงสารเกิดความเข:าใจรวมกัน (Common understanding)
E
ั
หรือมีความหมายรEวมกัน (Shared meaning) การสื่อสารที่ไมEประสบความสำเร็จหรือไมEกEอให:เกิดความหมายรEวมกน
ั
ระหวEางผู:สEงสารและผู:รับสารไมEถือวEาเปUนการสื่อสาร
การแบEงมิติความแตกตEางของคำนิยามข:างต:นจะเห็นถึงความหลากหลายในคำนิยามของการสื่อสาร ซึ่งมาจาก
หลายมุมมองและจุดเน:นที่แตกตEางกันของนักวิชาการ
Griffin, Ledbetter, and Sparks (2015) อธิบายวEา การสื่อสาร หมายถึง “กระบวนการเชิงความสัมพันธQของ
การสร:างและการตีความสารที่ทำให:เกิดการตอบสนอง” คำนิยามนี้สะท:อนถึง 5 องคQประกอบหลักของการสื่อสาร
1. สาร (Messages) เปUนองคQประกอบสำคัญในการศึกษาการสื่อสาร การสื่อสารไมEวEาจะเปUนการเขียน การ
อEาน การฟiง การพูด ล:วนเกี่ยวข:องกับ “สาร” ที่ถEายทอดผEานสื่อในสถานการณQตEาง ๆ
ิ
2. การสร,างสาร (Creation of Messages) ผู:สEงสารมีการวางแผนเลือกเนื้อหาและรูปแบบของสาร เชEน นด
สEงข:อความสั้นทางโทรศัพทมือถือไปยังเพ่อนรEวมงานแทนการสื่อสารแบบเหนหนาคEาตา โดยเลือกใช:คำและ
:
็
ื
Q
สัญลักษณQที่จะสื่อความหมายได:ตรงกับความต:องการ
3. การตีความหมายสาร (Interpretation of Messages) คำหรือภาษาไมEได:มีความหมายในตัวเอง
ความหมายจึงไมEได:อยูEในคำที่เราพูดหรือเขียน แตมนุษยQเปUนผู:กำหนดความหมาย นอกจากนี้ คำพูดและ
E
สัญลักษณQตEาง ๆ ยังมีหลายความหมายและเปóดตEอการตีความได:อยEางหลากหลาย