Page 11 -
P. 11
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
์
ั
ุ
ิ
ิ
5
2. การสื่อสารระหวsางบุคคล (Interpersonal communication)
U
การสื่อสารระหวEางบุคคลเปนการสื่อสารแบบเห็นหน:าคEาตากันระหวEางผู:สื่อสาร 2 คน ความสัมพนธQระหวEาง
ั
คูEสื่อสาร เชEน สาม-ภรรยา หมอ-คนไข: คร-นักเรียน พEอแม-ลูก เจ:านาย-ลูกน:อง เปUนประเด็นการวิจัยที่สำคัญในสาขาการ
E
ี
ู
ิ
สื่อสารระหวEางบุคคล ในการสื่อสารแบบเห็นหน:ากัน ผู:สื่อสารถEายทอดสารได:หลายชEองทาง ทั้งการมองเห็น การได:ยน
การสัมผัส เชEน แมEโอบกอดลูกที่กำลังร:องไห:พร:อมกับแสดงออกถึงความรักผEานสายตาและคำพูดเพื่อให:ลูกหยุดร:องไห :
E
นอกจากนี้ ยังมีประเด็นการวิจัยอื่นอีก เชEน ความไมEแนEใจ อำนาจ ความชอบ ความดึงดูด อารมณQ ซึ่งเปUนปiจจัยที่มีผลตอ
ความสัมพันธQระหวEางบุคคล รวมไปถึงประเด็นการพัฒนาความสัมพันธQระหวEางบุคคลผEานเครือขEายคอมพิวเตอรQ
3. การสื่อสารกลุsมยsอย (Small-group communication)
E
ื่
การสอสารกลุEมยEอย หมายถึง การสื่อสารที่มีผู:สื่อสารอยEางน:อยที่สุด 3 คน นักวิชาการบางคนเห็นวาจำนวน
สูงสุดของสมาชิกในกลุEม คือ 5-7 คน ในขณะที่บางคนไมEกำหนดจำนวนสูงสุดของสมาชิกกลุEม กลุEมยEอยในที่นี้หมายถง
ึ
เฉพาะกลุEมคนที่รEวมกันทำงานให:บรรลุวัตถุประสงคQที่กำหนดไว: งานวิจัยเกี่ยวกับการสื่อสารกลุEมยEอยมุEงศึกษาเฉพาะกลม
ุE
ทำงาน (Task groups) ซึ่งแตกตEางไปจากกลุEมเพื่อนและครอบครัวในบริบทการสื่อสารระหวEางบุคคล ประเด็นที่ได:รบ
ั
ความสนใจ เชEน ความขัดแย:ง อำนาจในกลุEม การซุบซิบ ความแตกตEางทางวัฒนธรรม ทฤษฎีการสื่อสารกลุEมยอยมก
E
ั
เกี่ยวกับลักษณะของกลุEมที่เปUนพลวัต เคลื่อนไหวไมEหยุดนิ่ง (Dynamic) บทบาท และความไว:วางใจในกลุEม
4. การสื่อสารในองค@การ (Organizational communication)
การสื่อสารในองคQการแตกตEางจากการสื่อสารกลุEมยEอย โดยเปนการสื่อสารในสิ่งแวดล:อมท่มีขนาดใหญและ
U
E
ี
ความหลากหลายมากขึ้น ทั้งการสื่อสารระหวEางบุคคล เชEน การสนทนาระหวEางผู:บังคับบัญชาและผู:ใต:บังคับบัญชา การ
สื่อสารสาธารณะ เชEน การชี้แจงนโยบายของผู:บริหารระดับสูง การสื่อสารกลุEมยEอย เชEน กลุEมงานที่รับผิดชอบโครงการ
Q
ุ
การสื่อสารผEานสื่อ อาทิ บันทึกข:อความ อีเมลQ การประชมผEานระบบออนไลน ที่มักนำมาใช:แทนการสื่อสารแบบเห็นหนา
:
คEาตา องคQการมักมีการกำหนดลำดับชั้น (Hierarchy) อยEางชัดเจน เพื่อจัดระเบียบการสื่อสาร ความสัมพันธQของกิจกรรม
ตEาง ๆ และบุคลากรภายใน นอกจากนี้ การจัดการและการสื่อสารภายในองคQการสEวนใหญEใช:หลักการแบEงงาน (Division
of labor) เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of command) และเอกภาพของทิศทางงาน (Unity of direction) ทฤษฎี
Q
ื
่
ี
Q
ี
เกยวกบการสอสารในองคการมตนตอจากการวจยในชวงป ค.ศ.1920-1930 การวิจัยในโรงงานฮอวธอรQน ชิคาโก ประเทศ
ั
่
ั
ิ
Å
E
:
U
สหรัฐอเมริกา เพื่อค:นหาปiจจัยที่สEงผลตEอความสามารถในการผลิตของพนักงาน จนได:ข:อสรุปวEาองคQการมีลักษณะเปน
หนEวยทางสังคม ปiจจยทีสEงผลตEอการทำงานของพนักงาน คือ ทัศนคติและความรสึกของคนงาน ตลอดจนความสัมพันธกับ
ู
ั
:
Q
่
ี่
เพื่อนรEวมงานและผู:บังคับบัญชา ซึ่งนำมาสูEการบริหารองคQการทเน:นมนุษยสัมพันธQ (Human relations approach)
:
นอกจากนี้ ยังมีแนวทางอื่นในการจัดการและการสื่อสารอีก เชEน การจัดการแบบวิทยาศาสตรQ การจัดการแบบเนน