Page 7 -
P. 7
ิ
ุ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ิ
ั
ิ
บทที่ 1
ความรู,พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความหมายและองค@ประกอบของการสื่อสาร
การสื่อสาร (Communication) มีบทบาทสำคัญมากตEอการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยQ กิจกรรมตEาง ๆ ล:วน
ต:องใช:การสื่อสาร ทั้งในการทำงาน การเรียน การประกอบกิจวัตรประจำวัน การสื่อสารมีหลากหลายความหมายตาม
มุมมองและความสนใจที่แตกตEางกันไปของนักวิชาการ ในโลกธุรกิจ การสื่อสาร หมายถึง ข:อมูลขEาวสาร (Information)
การสื่อสารจึงเปUนกระบวนการไหลของข:อมูลขEาวสารจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง (Axley, 1984) ในบริบทขององคQการ
ิ
ุ
U
ื
:
ึ
Q
E
การส่อสารจัดเปนหน่งในหลายกจกรรมขององคการ ไดแก การวางแผน การควบคม และการบริหาร (Deetz, 1994) โดย
็
พื้นฐานแล:ว การสื่อสารเปUนกระบวนการที่ซับซ:อนของการสEงสาร การรับสาร และการตความสาร อยEางไรกตาม คำนิยาม
ี
Q
ิ
:
E
U
เพยงหน่งคำนยามไมสามารถอธบายการสื่อสารของมนุษยไดอยEางครบถ:วนสมบูรณ จึงจำเปนต:องอาศัยคำอธิบายในแงEมม
ุ
ี
ิ
ึ
Q
ตEาง ๆ มาศึกษาเรื่องการสื่อสารและประยุกตQใช:ตามความเหมาะสม
ในปÅ ค.ศ. 1976 Dance และ Larson ได:รวบรวมและรายงานคำนิยามการสื่อสารที่ได:รับการตีพิมพQมากถึง 126
คำนิยามที่อธิบายการสื่อสารแตกตEางกันไป Dance (1970) ระบุความแตกตEางของคำนิยามใน 3 ด:าน ดังนี้
U
E
E
ื
ิ
ึ
ั
ี่
ั
1. ระดบของการสงเกต (Level of observation) หมายถง ขอบเขตของส่งทจดวาเปนการส่อสาร เชน “การ
ั
สื่อสารเปUนการทำให:เกิดการตอบสนองผEานระบบวัจนภาษา” คำนิยามนี้จำกัดขอบเขตการสื่อสารใน 2 ประการ (1) จำกด
ั
เฉพาะสิ่งที่กEอให:เกิดการตอบสนอง (Response) ดังนั้น ถ:าเราบอกให:เพื่อนเดินมาหา แตEเพื่อนไมEเดินมา และไมEมีการ
ตอบสนองเลย แสดงวEาสถานการณQนี้ยังไมEมีการสื่อสารเกิดขึ้น (2) จำกัดเฉพาะการติดตEอผEานวัจนภาษาเทEานั้น ถ:าเราเรียก
เพื่อนให:เดินมา แตEเพื่อนสEายหน:าและโบกมือ โดยไมEได:มีการกลEาวคำพูดใดเลย การตอบสนองด:วยอวัจนภาษาโดยการ
ิ
ั
แสดงสีหน:าทEาทางนี้ก็ไมEเรียกวEาการสื่อสาร เห็นได:วEาคำนยามข:างต:นนี้มีระดับการสังเกตที่คEอนข:างแคบ คือ การจำกด
เฉพาะการสื่อติดตEอผEานวัจนภาษาหรือคำพูด และต:องมีการตอบสนองด:วยเทEานั้นที่จัดวEาเปUนการสื่อสาร
ในขณะที่คำนิยามอื่นขยายขอบเขตกว:างครอบคลุมถึงพฤติกรรม เชEน “การสื่อสารเปUนกระบวนการทั้งหมดท ี่
จิตใจของคนหนึ่งสามารถมีผลตEออีกคนหนึ่ง” (Dance and Larson, 1976) ซึ่งเปUนคำนิยามที่มีระดับการสังเกตกว:างมาก
ึ
E
ข้น กลาวคอ พฤตกรรมทกอยางเปนการส่อสารไดหมด ไมไดจำกัดเฉพาะการใช:คำพดเทาน้น การใช:อวัจนภาษา เชEน การ
ั
E
ุ
ื
ิ
:
ื
E
U
:
E
ู
ยิ้ม การสEายหน:า การโบกมือ การก:มหน:า ในการติดตEอแลกเปลี่ยนก็จัดเปUนการสื่อสารด:วย
2. ความตั้งใจ (Intentionality) บางคำนิยามจำกัดการสื่อสารเฉพาะการแลกเปลี่ยนสารที่มาจากความตั้งใจ
Q
E
ของผู:สื่อสารเทEานั้น เชEน Miller (1966, Dance and Larson, 1976) นิยามวา “การสื่อสาร หมายถึง สถานการณที่แหลEง
สารถEายทอดสารไปยังผู:รับสารโดยมีความตั้งใจที่จะมีผลกระทบตEอพฤติกรรมของผู:รับสาร” ซึ่งเปUนการเน:นที่แหลEงสาร
(Source orientation) โดยจำกัดเฉพาะการสื่อสารที่มาจากเจตนาหรือความตั้งใจของแหลEงสาร ในกรณีที่เพื่อนรEวมงาน