Page 57 -
P. 57
์
ิ
ิ
ิ
ั
ุ
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
เรียกวันอาทิตย์ หากแปลภาษาไทยเป็นภาษาจีนไม่มีปัญหามากนัก
แต่เมื่อแปลภาษาจีนเป็นไทย ล่ามต้องไม่เผลอพดวันภาษาไทยเป็น
ู
ี
ี
ตัวเลข เพราะท าให้สับสนได้ 2 กรณ กรณแรกคือสับสนกับล าดับ
วันในเดือน กรณที่ 2 คือสับสนกับเลขวันในโหราศาสตร์ไทย ซึ่งวัน
ี
อาทิตย์เท่ากับเลข 1 วันจันทร์เท่ากับเลข 2 ผู้เขียนเองเคยมี
การสื่อสารผิดพลาดในลักษณะเช่นนี้มาแล้ว เพราะติดภาษาจีน
ั
ื้
่
มากเกินไป ท าให้ผู้ฟงซึ่งเป็นผู้ใหญและมีพนฐานโหราศาสตร์ไทย
เข้าใจความหมายต่างจากที่ต้องการสื่อ
่
2. ภาษาจีนเรียงล าดับจากใหญไปเล็ก ในขณะที่ภาษาไทย
เรียงจากเล็กไปใหญ เช่น วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2562
่
่
จีนต้องเรียงจากใหญไปหาเล็กเป็น 2019 年二月 7 日星期四 ข้อความ
ู
ว่า ไตรมาสที่สามของปี 2550 จีนพดว่า 2016 年第三季度 เรื่อง
ล าดับนี้เป็นเรื่องที่ผู้เรียนภาษาเรียนตั้งแต่ระดับต้น แต่พบว่า
มีการใช้ผิดมาก เมื่อน าไปใช้งานจริง จึงเป็นเรื่องที่ต้องฝึกฝนให้
ช านาญ
3. เวลาแบบไทยกับเวลาแบบจีน จีนและไทยมีการน าค าว่า
เช้าสายบ่ายเย็นไปประกอบกับเวลาเช่นเดียวกับไทย แต่มีจุดต่างกัน
อยู่มาก เส้นแบ่งของเวลาไม่ตรงกันว่าเวลาใดควรเรียกว่าเช้าสายบ่ายเย็น
กันแน่ ตัวอย่างเช่นเวลา 16.00 น. ภาษาไทยใช้เรียกว่าสี่โมงเย็น
แต่ ่เมื่อพูดเป็นภาษาจีนต้องใช้ค าว่า 下午四点 ซึ่งปกติ 下午 แปลว่าบ่าย
ยิ่งถ้าเป็นภาษาพดของคนไทยรุ่นผู้ใหญ จะยิ่งท าให้เกิดความสับสน
่
ู
ได้มากถ้าล่ามไม่ชิน เช่นค าว่าสี่โมงเช้า ล่ามต้องคิดก่อนว่าหมายถึง
48 บทที่ 4 การแปลตัวเลข มาตราชั่ง ตวง วัด เวลา