Page 54 -
P. 54
ั
ิ
ุ
์
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ิ
ภาษาจีนเพื่อการล่ามในธุรกิจ
ร้อยละสามก็ไม่เกิดปัญหาในการแปลจีน เพราะล าดับตรงกับ
ู
ภาษาจีน แต่ถ้าพดไทยว่าสามเปอร์เซ็นต์ ผู้ปฏิบัติงานล่ามมือใหม่
มักจะมีอาการสะดุดเล็กน้อย วิธีที่ดีที่สุดคือต้องฝึกแปลกลับไป
กลับมาให้คล่อง
ตัวเลขที่อยู่หลังทศนิยมอ่านเรียงเลขไปทั้งภาษาจีนและ
ภาษาไทย จึงไม่ค่อยเกิดปัญหามากนัก ส าคัญที่ต้องจดให้ทันเท่านั้น
เรื่องยากอีกเรื่องหนึ่งในการแปลคือการแปลงมาตราชั่ง ตวง วัด
ให้เข้ากับภาษาปลายทาง
ื้
ตัวอย่างพนฐานที่จีน-ไทยใช้ต่างกันในชีวิตประจ าวันคือ การ
บอกน้ าหนักและความสูง คนไทยปัจจุบันบอกน้ าหนักด้วยการบอก
เป็นกิโลกรัม ซึ่งคนจีนนิยมบอกน้ าหนักเป็น จิน (斤) เท่ากับ 0.5
2
กิโลกรัม หากแปลไทยเป็นจีน ล่ามจะแปลด้วยค าว่า กิโลกรัม เหมือน
ที่ผู้พดพดก็ได้ เพราะคนจีนมีศัพท์ค าว่ากิโลกรัมใช้อยู่ แต่จะอ านวย
ู
ู
ั
ความสะดวกให้ผู้ฟงด้วยการแปลงค่าเป็นจินก็เป็นการดี แต่ถ้าแปล
ู
ู
จีนเป็นไทย แล้วผู้พดพดเป็นหน่วยจินมา ควรจะแปลงเป็นกิโลกรัม
ทุกครั้ง เพราะคนไทยไม่รู้จักค าว่าจิน
การบอกความสูง คนไทยจะใช้บอกเป็นเซนติเมตร เช่น
สูง 178 เซนติเมตร ในขณะที่คนจีนบอกเมตรแล้วตามด้วยทศนิยม
เช่น 一米七八 ล่ามควรจะแปลงกลับไปกลับมาตามความเคยชินใน
2 ปัจจุบัน 1 จิน (斤) เท่ากับ 10 เหลี่ยง (两) 1 เหลี่ยงเท่ากับ 50 กรัม 1 จินเท่ากับ
500 กรัม แต่ในสมยก่อน ก าหนดให้ 1 เหลี่ยงเท่ากับ 31.25 กรัม 16 เหลี่ยงเท่ากับ
ั
1 จิน
บทที่ 4 การแปลตัวเลข มาตราชั่ง ตวง วัด เวลา 45