Page 51 -
P. 51
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
ิ
์
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
กนกพร นุ่มทอง
บทที่ 4
การแปลตัวเลข มาตราชั่ง ตวง วัด เวลา
การแปลตัวเลขเป็นเรื่องส าคัญมากในการแปลแบบล่าม และ
เป็นเรื่องที่ผิดได้บ่อยในการปฏิบัติงาน ภาษาจีนและภาษาไทย
มีความแตกต่างในระบบตัวเลข หลักที่ไม่เป็นปัญหาคือ หน่วย สิบ
ร้อย พน หมื่น เพราะมีใช้ทั้งในภาษาจีนและภาษาไทย แต่เมื่อเป็น
ั
หลักแสน ล้าน จีนใช้หลักหมื่นมาเป็นฐานนับ กล่าวคือ สิบหมื่น
้
เท่ากับแสน ร้อยหมื่นเท่ากับล้าน เมื่อพนหลักล้าน ไทยใช้หลักล้าน
ั
เป็นฐานนับ เป็น สิบล้าน ร้อยล้าน พนล้าน หมื่นล้าน แสนล้าน
1
ล้านล้าน ในขณะที่จีนใช้หลักหมื่นเป็นฐานต่อจนถึงสิบล้าน
ั
กล่าวคือ พนหมื่นเท่ากับสิบล้าน จากนั้นมาใช้หลักร้อยล้านเป็นฐาน
ต่อไป ท าให้เกิดความสับสนในการแปลงตัวเลขได้ง่ายมาก ยิ่งถ้าหาก
ปฏิบัติงานล่ามสามภาษา จะยิ่งสับสนมากขึ้นอีก เพราะภาษาอังกฤษ
ั
ใช้หลักพน จากนั้นใช้หลักพนเป็นฐาน จากนั้นข้ามไปเป็นหลักล้าน
ั
หลักพันล้าน หลักล้านล้าน
ในต าราและหนังสือการล่ามอังกฤษ-จีน จีน-อังกฤษ ของจีน
หลายเล่ม มีการเสนอให้ล่ามสร้างตารางแปลงค่าฐานเลขไว้ในบันทึก
1 แมไทยจะมระบบนับจ านวนหรือที่เรียกว่า ภัณฑสังขยา ซึ่งม หลักสิบล้าน (โกฏิ)
้
ี
ี
ร้อยล้าน (ปโกฎิ) พันล้าน (โกฎิปโกฏิ) หมนล้าน (นหุตะ) แสนล้าน (นินนหุตะ)
ื่
แต่ไม่ได้ใช้ในชีวิตจริง
42 บทที่ 4 การแปลตัวเลข มาตราชั่ง ตวง วัด เวลา