Page 55 -
P. 55

ิ
                                 ิ
                                          ิ
                    ิ
                  ื
                                                       ั
                              ์
                                                             ุ
       โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
              กนกพร นุ่มทอง
              ภาษาปลายทาง
                                   ื้
                     การบอกขนาดพนที่เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่ใช้บ่อย คนจีนปัจจุบัน
                         ื้
              บอกขนาดพนที่ตามแบบสากลเป็นตารางเมตร ส่วนคนไทยบอก
                     ื้
              ขนาดพนที่ด้วยตารางวา ซึ่งเท่ากับ 4 ตารางเมตร ในขณะที่ ถ้า
              พื้นที่มีขนาดใหญ่ คนไทยใช้ งาน (100 ตารางวา) และไร่ (4 งาน) แต่

                                                                      ื้
              คนจีนจะบอกเป็นหมู่ (亩) (ประมาณ 667 ตารางเมตร) ถ้าพนที่มี
                       ่
              ขนาดใหญ นิยมใช้ตามสากลเป็นเฮกตาร์ 公顷 (10,000 ตารางเมตร)
              ล่ามควรท่องจ ามาตราชั่ง ตวง วัดที่ใช้บ่อยได้ ฝึกคูณและหารให้

              แคล่วคล่อง ในการปฏิบัติงานจริง ควรจดตัวเลขด้วยหน่วยใน
              ภาษาต้นทางก่อน เมื่อแปลให้แปลงเป็นมาตราที่นิยมใช้ในภาษา

              ปลายทาง ถ้าเป็นการแปลแบบไม่เป็นทางการ เช่น การสนทนา
              สัพเพเหระ อาจคูณหารโดยประมาณแล้วแปลเพอความรวดเร็ว
                                                            ื่
              แต่ถ้าเป็นทางการหรือเจรจาซื้อขาย ต้องการความถูกต้องชัดเจน

              อาจใช้แอพพลิเคชั่นหรือเว็บไซต์แปลงมาตราเมตริก ล่ามสามารถจด
              มาตราเทียบที่ใช้บ่อยไว้ในสมุดบันทึกได้เพอให้สะดวกในการ
                                                        ื่
              ปฏิบัติงานเป็นต้นว่า
                     1 ตารางวา = 4 ตารางเมตร = 4 平方米

                     1 งาน = 100 ตารางวา = 400 ตารางเมตร = 400 平方米

                     1 ไร่ = 4 งาน = 400 ตารางวา = 1,600 平方米
                     ส าหรับการแปลตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับวันเวลาเป็นเรื่องที่มี

              รายละเอียดปลีกย่อยอยู่พอสมควร มีข้อควรระวังดังนี้




              46                               บทที่ 4 การแปลตัวเลข มาตราชั่ง ตวง วัด เวลา
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60