Page 184 -
P. 184

ิ
                                                  ิ
                                                                ั
                                                                        ุ
                       ื
                                    ์
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                 ิ
                                        ิ
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   153

                                                                        ่
                    ค าว่า “บาป” หมายถึง กรรมอันยังบุคคลให้ถึงซึ่งทุกข์หรือสิ่งทีจะนาผู้กระท ากรรมนั้นไปสู ่
            ทางแห่งความเสื่อม ดังทีพระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า “บุคคลพึงรีบท าความดีพึงห้ามจิตจากบาปเพราะ
                                 ่
            เมื่อท าบุญช้าไป ใจย่อมยินดีในบาป หากบุรุษพึงท าบาปไซร้ไม่พึงท าบาปนั้นบ่อย ๆ ไม่พึงท า

            ความพอใจในบาปนั้น เพราะการสั่งสมบาปนาทุกข์มาให้” (ขุ. ธ. 25/19 /30) นอกจากนีในปกรณบาลี
                                                                                            ์
                                                                                    ้
            ยังเรียก “บาป” คือ ความชั่ว อกุศล คือ ความไม่ฉลาด ทุจริตคือความประพฤติชั่ว อกรณียะคือ
            กิจไม่ควรท า อธัมมจริยาคือความประพฤติไม่เปนธรรม วิสมจริยาคือความประพฤติไม่เสมอ และค าว่า
                                                   ็
            “บาป” ตามค าสอนของพระพุทธศาสนาจึงหมายถึงสิ่งทีเกิดจากการกระท าความชั่วทีประกอบด้วย
                                                           ่
                                                                                    ่
                       ้

                                                                  ่
                                                       ็
                                        ่
                                          ่
            เจตนาอันมีพืนฐานมาจากกิเลสทีอยูภายในจิตใจเปนเหตุนาไปสูความเสื่อมโดยอาศัยการแสดงออก
            ทางทวารทั้ง 3 คือ กายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร
                                                    ้
                                                                               ่
                                                 ็
                                                                           ่
                                                                                           ็
                                                                                    ุ
                      ุ
                    มนษย์โดยธรรมชาติแล้วมีความดีเปนพืนฐานอยู่แล้ว ส่วนความชั่วทีมีอยูในมนษย์นั้นเปนผล
                   ้
              ่
            ทีเกิดขึนจากการปรุงแต่งของการเวียนว่ายตายเกิด (สังสารวัฏฏ์) ของเขานั่นเอง ในคัมภีร์
            ทางพระพุทธศาสนาเปรียบจิตของมนษย์ว่าเหมือนกับแร่ทองค าทีมีสนิมเหล็ก สนิมทองแดง สนิมดีบุก
                                           ุ
                                                                  ่
            สนิมตะกั่ว และสนิมเงินติดอยู เมือนาเอาความสกปรกเหล่านีออกเสียแล้ว ทองค าก็ส่องแสงสุกใส
                                         ่
                                                                ้

                                      ่
            ด้วยรัศมีตามธรรมชาติของมันเอง จิตของมนษย์ก็เช่นเดียวกัน เมื่อก าจัดความชั่วหมดสินย่อมผ่องใส
                                                 ุ
                                                                                    ้
            ดังพระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า “…จิตนั้นตามธรรมชาติแล้วย่อมผ่องใส แต่ขุ่นมัวไปเพราะกิเลสที่จรมา...”
                                                                                    ่
            (ม.มู.12/92/481) เพราะฉะนั้น แม้ว่ามนษย์จะมีความชั่วหรือบาปและมีความสามารถทีจะท าบาปได้
                                              ุ
                                                          ็
            ก็มิได้หมายความว่ามนษย์เปน “สัตว์มีบาป” แต่ถือว่าเปน “สัตว์มุ่งความดี” เพราะมนษย์สามารถทีจะ
                                    ็
                                                                                             ่
                                                                                  ุ
                                ุ
            ท าความดีได้
                            ็
                                                                                            ุ
                                                                         ็
                    ความดีเปนคนละด้านกับความชั่ว และทั้งความดีและความชั่วเปนสองด้านของชีวิตมนษย์
            เพราะในชีวิตประจ าวันของมนษย์ตามความเปนจริงนั้น หากไม่ท าดีก็ท าชั่ว หรือหากไม่ท าชั่วก็ท าดี
                                      ุ
                                                   ็
                                                                ็
                 ่
                                                                                  ่
                    ุ
                            ่
            การทีมนษย์จะอยูเฉย ๆ โดยไม่ท าดีหรือไม่ท าชั่วเลยนั้นเปนไปไม่ได้ ฉะนั้น เรืองของความดี
                                                                           ุ
            ความชั่ว หรือเรียกรวม ๆ ว่าเรื่องของศีลธรรมจึงถือว่าเปนเรืองของชีวิตมนษย์โดยตรง ไม่ว่ามนษย์
                                                               ่
                                                           ็
                                                                                            ุ
                                                     ุ
                                                                             ็
                        ่
                                                                           ่
            จะรู้หรือไม่รู้เรืองของความดี ความชั่ว ก็ตาม มนษย์ท าดีบ้าง ท าชั่วบ้างอยูเปนประจ า เพราะฉะนั้น
                                                                                 ่
              ่
                                          ่
                                              ่
                                                 ุ
            เรืองของความดี ความชั่วจึงเปนเรืองทีมนษย์ทุกคนควรจะรู้ เพราะเปนเรืองเกียวกับสวัสดิภาพ
                                                                            ่
                                                                         ็
                                       ็
            ของชีวิตและสังคมของตนโดยตรง ดังพุทธพจนว่า เมื่อกรรมชั่วยังไม่ให้ผลคนชั่วอาจเห็นกรรมชั่ว
                                                     ์
            เปนกรรมดีแต่เมื่อกรรมชั่วให้ผลเขาย่อมเห็นกรรมชั่วว่าเปนกรรมชั่ว ส่วนคนดีอาจเห็นกรรมดี
              ็
                                                               ็
              ็
                                                                                       ็
            เปนกรรมชั่ว เมื่อกรรมดียังไม่ให้ผลแต่เมื่อใดกรรมดีให้ผล เมื่อนั้นเขาย่อมเห็นกรรมดีเปนกรรมดี
            (ขุ.ธ. 25/19/26)
   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189