Page 188 -
P. 188

ิ
                                    ์
                       ื
                         ิ
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   157
                                                                         ์
                    พระราชา – ความประพฤติทางกาย วาจา ใจ ที่สมณพราหมณทั้งหลายผู้เปนวิญญูจะพึง
                                                                                    ็
            กล่าวโทษ คืออย่างไร

                                                                    ็
                    อานนท์   –  คือ ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่เปนอกุศล

                                                                         ็
                    พระราชา  –  ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่เปนอกุศลเปนอย่างไร
                                                                 ็
                    อานนท์   –  คือ ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่ให้ทุกข์โทษ

                                                                          ็
                    พระราชา  –  ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่ให้ทุกข์โทษเปนอย่างไร

                    อานนท์   –  คือ ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่ให้ความบีบคั้น


                    พระราชา  –  ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่ให้ความบีบคั้นเปนอย่างไร
                                                                             ็

                    อานนท์   –  คือ ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่มีทุกข์โทษเปนผล
                                                                             ็

                    พระราชา  – ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่มีทุกข์โทษเปนผลเปนอย่างไร
                                                                               ็
                                                                         ็
                    อานนท์   – คือ ความประพฤติทางกาย  ...วาจา...ใจ ที่เปนไปเพื่อการเบียดเบียนตนก็ดี
                                                                     ็
            เบียดเบียนผู้อื่นก็ดี เปนไปเพื่อการเบียดเบียนทั้งสองฝายก็ดี ที่อกุศลธรรมทั้งหลายย่อมเจริญยิ่ง
                                                           ่
                               ็
                                                                                   ้
            แก่เขา กุศลธรรมทั้งหลายย่อมเสื่อมถอยไป  มหาบพิตร อกุศลธรรมทั้งหลายอย่างนีแล ที่วิญญูชน
            จะพึงกล่าวโทษได้ (ม.ม.13/553-4/500-3)

                                                     ่
                                                            ็
                                                                                           ็
                    ความประพฤติทางกาย...วาจา...ใจ ทีมีสุขเปนผล คือ ความประพฤติดี...ทีไม่เปนไป
                                                                                      ่
                                                                                 ่
                                                                                      ่
                                                 ่
            เพือทั้งการเบียดเบียนตน ทั้งเบียดเบียนผู้อืนก็ดี ทั้งเพือความเบียดเบียนทั้งสองฝาย ทีอกุศลธรรม
               ่
                                                          ่
            ทั้งหลายย่อมเสื่อมถอย กุศลธรรมทั้งหลายย่อมเจริญยิ่งแก่เขา มหาบพิตร  ความประพฤติทางกาย...
                           ้
            วาจา...ใจ อย่างนีแล ที่วิญญูชนไม่พึงกล่าวโทษได้ ในขุททกนิกาย ธรรมบท (ขุ.ธ.25/15/23) ว่า

            “บุคคลท ากรรมใดแล้ว ย่อมเดือดร้อนใจในภายหลัง มีหนาชุ่มด้วยนาตา ร้องไห้ เสวยผลกรรมที่ท านั้น
                                                           ้
                                                                   ้
                                                                                           ้
            ไม่ดี, บุคคลท ากรรมแล้ว ไม่เดือดร้อนในภายหลัง มีจิตเอิบอิ่มดีใจ เสวยผลกรรมที่ท านั้นแลดี” เนือหา
                                                                                      ็
            ข้อความนีช่วยให้เรามองเห็นได้ว่าเกณฑ์วินิจฉัยว่าการกระท าทีถือว่าเปนความดีหรือเปนความชั่ว
                     ้
                                                                  ่
                                                                         ็
                                          ็
                                                                 ็
            ก็ให้ดูทีผลของสิ่งนั้น ๆ  ถ้าให้ผลเปนทุกข์หรือโทษ สิ่งนั้น ก็เปนความชั่ว นัยตรงกันข้าม ถ้าให้ผล
                   ่
                                      ็
              ็
            เปนประโยชนหรือสุข สิ่งนั้นก็เปนความดี
                        ์
   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193