Page 189 -
P. 189

ั
                       ื
                         ิ
                                                  ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                                                        ุ
                                        ิ
                                    ์
                                 ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         158

                                                                                  ่
                                                                            ็
                                                                                        ่
                                          ่
                                           ็
              สรุปได้ว่า การกระท าใดก็ตามทีเปนไปด้วยอ านาจกิเลสดังกล่าว ย่อมเปนสิ่งทีนามาซึง

                                                                                        ็
                     ่
       ความเสียหาย ซึงจะนาความทุกข์มาให้ และสามารถตัดสินได้ว่า การกระท านั้นผิด เพราะเปน
       การกระท าทีสวนทางกับพระนิพพาน ส่วนการกระท าทีดีมีประโยชนก็คือการกระท าทีเปนไป
                                                        ่
                                                                   ์
                                                                                   ่
                                                                                     ็
                  ่
         ่
       เพือพระนิพพานหรือความหลุดพ้น (วิมุตติ)
                  ็
       7. เจตนาเปนเกณฑ์ตัดสินจริยธรรมในพุทธจริยศาสตร์
                                                                                    ็
              กล่าวโดยหลักการแล้วการกระท าใด ๆ จะเปนกรรมดีหรือกรรมชั่วให้ดูที่เจตนาเปนหลัก
                                                    ็
                       ่
       เพราะเจตนาเปนทีมาของกรรม ดังพุทธพจนทีระบุไว้ในพระสุตตันตปฎกว่า “เจตนาห  ภิกขเว กมม
                    ็
                                              ่
                                                                 ิ
                                                                                  ฺ
                                                                                        ฺ
                                            ์
                                                                                   ็
                  ฺ
                        ฺ
       วทามิ เจตยิตวา กมม  กาเยน วาจาย มนสา” แปลว่า “ภิกษทั้งหลาย เรากล่าวเจตนาว่าเปนกรรม
                                                          ุ
       บุคคลคิดแล้วจึงท ากรรมทางกาย วาจา ใจ” (อัง.ฉักก. 22/63/474)  เจตนาหมายถึงสภาพความนึกคิด
                                                          ้
                    ็
                                                                                    ็
       ทีมีความจงใจเปนสิ่งประกอบส าคัญ คือ ต้องคิดไว้ก่อนล่วงหนาแล้วจึงกระท า เจตนาจึงจัดเปนแก่น
        ่
       ส าคัญที่สุดของการกระท า  เปนสาระที่ท าให้การกระท ามีความหมาย  การกระท าที่มิได้เกิดจาก
                                 ็
                                                     ์
                               ็
       ความจงใจไม่อาจเรียกได้ว่าเปนการกระท า และพุทธพจนในภูมิชสูตรว่า
                                                   ็
                                                                   ้
                                     ่
              “ดูก่อนอานนท์ เมื่อกายมีอยู สุขและทุกข์อันเปนภายใน ย่อมเกิดขึนเพราะความจงใจทางกาย
       เปนเหตุ เมื่อวาจามีอยู สุขและทุกข์ภายในย่อมเกิดขึน เพราะความจงใจทางวาจาเปนเหตุ หรือว่า
                                                   ้
         ็
                          ่
                                                                              ็
                                                                    ็
                              ็
                                              ้
       เมื่อใจมีอยู สุขและทุกข์อันเปนภายใน ย่อมเกิดขึนเพราะความจงใจทางใจเปนเหตุ” (สัง.นิ.16/25/51)
               ่
                         ์
              และพุทธพจนในมหากัมมวิภังคสูตรว่า
              “บุคคลจงใจท ากรรมทางกาย ทางวาจา ทางใจ อันให้ผลเปนสุข เขาย่อมเสวยสุข บุคคลจงใจ
                                                              ็
       ท ากรรมทางกาย ทางวาจา ทางใจ อันให้ผลเปนทุกข์ เขาย่อมเสวยทุกข์ บุคคลจงใจท ากรรมทางกาย
                                             ็
       ทางวาจา ทางใจ อันให้ผลไม่ทุกข์ไม่สุข เขาย่อมเสวยอทุกขมสุข” (ม.อุ.14/300/386)
              ในพระวินัย เมื่อพระภิกษกระท า พระพุทธองค์ทรงใช้เจตนาเปนเกณฑ์ตัดสิน ขอยกตัวอย่าง
                                                                 ็
                                   ุ
                                                         ุ
                  ุ
       กรณีพระภิกษกระท าความผิดอาบัติขั้นปาราชิก หากพระภิกษใดมีเจตนากระท าความผิดขั้นร้ายแรงนี ้
                        ็
       ก็จะขาดจากความเปนภิกษทันที และหากภิกษใดไม่มีเจตนาในการกระท าก็จะไม่ต้องอาบัติปาราชิก
                             ุ
                                              ุ
       ดังตัวอย่างในตติยปาราชิกบางเรือง คือ
                                 ่
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194