Page 191 -
P. 191

โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                                                ั
                                                  ิ
                                                                        ุ
                       ื
                                    ์
                                        ิ
                         ิ
                                 ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         160
                                 ่
                                                                        ุ
                                     ่
              จากตัวอย่างทั้งสามเรืองทียกมา พระพุทธองค์ทรงตัดสินว่า ภิกษทั้ง 3 รูปไม่มีเจตนา
       ในการกระท า ซึงพิจารณาจากค าว่า ไม่จงใจท าให้ตาย และไม่มีความประสงค์ให้ถึงแก่มรณภาพ ภิกษ ุ
                    ่
                                                                ้
       ทั้งสามไม่มีเจตนา หมายถึง ภิกษทั้งสามไม่ได้คิดวางแผนก่อนล่วงหนาในการกระท าครั้งนั้น เมื่อไม่มี
                                  ุ
                                                                       ่
       เจตนาในการกระท าก็ย่อมไม่มีความผิดหรือไม่ต้องอาบัติ และการกระท าใดทีไร้เจตนาก็ย่อมไม่มีผล
       ตามกรรมนิยาม คือ ไม่เปนไปตามกฎแห่งกรรม กลายเปนเรืองของนิยามอืน ท าหนาทีไป โดยเฉพาะ
                                                     ็
                                                                    ่
                                                                           ้
                                                                              ่
                                                        ่
                            ็
       อย่างยิ่งอุตุนิยาม คือ มีค่าเหมือนดินถล่ม ก้อนหินกร่อนร่วงหล่นจากภูเขาหรือกิ่งไม้แห้งหักลงมา
                                                                                    ่
                                                                                  ่
         ็
       เปนต้น (พระเทพเวที, (ป.อ.ปยุตโต) 2532: 159) ดังนั้น การกระท าว่าถูก ผิด ดี ชั่ว จึงอยูทีเจตนา
       เปนหลักส าคัญ ไม่ได้อยูทีผลลัพธ์ ซึงต้องพิจารณาหารายละเอียดต่อไป
                            ่
                          ่
                                    ่
         ็
       8. เกณฑ์ตัดสินจริยธรรมตามทรรศนะพระธรรมป ิ ฎก (ป.อ.ปยุตโต)
                                 ้
                                          ิ
              หลักเกณฑ์การตัดสินนีพระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโต) (2539: 179-180) จากหนังสือพุทธธรรม
                                                                            ็
       ได้ให้หลักไว้ว่า เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดีและกรรมชั่วในแง่ของกรรมให้ถือเอาเจตนาเปนหลักตัดสินว่า
                              ่
       เปนกรรมหรือไม่และในแง่ทีว่ากรรมนั้นดีหรือชั่วให้พิจารณาตามหลักเกณฑ์โดยยึดหลักในการสรุป
         ็
       ของกาลามสูตร (อัง.ติก.20/505/212) ดังนี  ้
                                            ็
                                                                                  ็
              1.  เกณฑ์หลัก ตัดสินด้วยความเปนกุศลหรืออกุศลโดยพิจารณามูลเหตุว่าเปนเจตนา
        ่
       ทีเกิดจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ อโมหะ หรือเกิดจากอกุศลมูล คือ โลภะ โทสะ โมหะ พิจารณา
                    ็
                             ้
       ตามสภาวะว่าเปนสภาพเกือกูลแก่ชีวิตจิตใจหรือไม่ท าให้จิตใจสบายไร้โรคปลอดโปร่งผ่องใสสมบูรณ ์
       หรือไม่ส่งเสริมหรือบั่นทอนคุณภาพและสมรรถภาพของจิต ช่วยให้กุศลธรรมทั้งหลาย
                                         ้
                                                                   ้
                   ้
       เจริญงอกงามขึนอกุศลธรรมทั้งหลายลดนอยลง หรือท าให้กุศลธรรมลดนอยลง อกุศลธรรมทั้งหลาย
                   ้
       เจริญงอกงามขึน ตลอดจนมีผลต่อบุคลิกภาพอย่างไร
              2. เกณฑ์ตัดสินร่วม เปนข้อทีนามาประกอบการตัดสินโดยให้มีการกลั่นกรองอย่างละเอียด

                                      ่
                                 ็
                                  ่
                       ่
         ่
       เพือพิจารณาอย่างถีถ้วนอีกชั้นหนึงคือ (อภิ.วิ. 25/1/12)
              2.1 พิจารณาความยอมรับของวิญญูชนหรือการต าหนิติเตียน
              2.2 พิจารณาลักษณะและผลของการกระท าทีเกิดขึนทั้งต่อตนเองและต่อผู้อืนโดยดูว่า
                                                   ่
                                                       ้
                                                                           ่
                     ็
                                                  ่
              2.2.1 เปนการเบียดเบียนตน เบียดเบียนผู้อืน ท าตนเองหรือผู้อืนให้เดือดร้อนหรือไม่
                                                                 ่
                           ่
                     ็
              2.2.2 เปนไปเพือประโยชนสุข หรือเปนไปเพือทุกข์ทั้งแก่ตนเองและผู้อืน
                                    ์
                                                                       ่
                                                  ่
                                            ็
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196