Page 196 -
P. 196
ิ
์
ื
ิ
ั
ุ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล” 165
ิ
่
้
จากแผนภูมิทีแสดงโครงสร้างพระไตรปฎกด้านบนนีแสดงให้เราเห็นว่า เนือหา
้
ิ
ในพระไตรปฎกประกอบด้วยกฎระเบียบ ข้อวัตรปฏิบัติ ค าสอน ปรารภถึงสาเหตุทีทรงแสดง
่
่
พระธรรมเทศนาของพระพุทธองค์ ซึงเปนค าสอนทีส าคัญยิ่งในการจะรู้ถึงหลักการปฏิบัติทางศาสนา
็
่
่
่
้
พร้อมทั้งประวัติศาสตร์ทีเกิดขึนในสมัยพุทธกาล มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตหลายท่านทีได้เขียนรวบรวม
เปนต าราขึนไว้มากมายให้เราได้ศึกษา มีทั้งการย่อขยายเนือความเพือสร้างความเข้าใจ
้
้
่
็
้
ให้พึงบังเกิดขึนกับผู้ทีมีความสนใจ
่
ิ
่
้
้
็
ในบทความนีผู้เขียนจะขอนาเสนอส่วนหนึงในพระไตรปฎกที่จัดว่าเปนขุมทรัพย์อันล าค่า
่
้
่
เพือนามาวิเคราะห์และจัดกลุ่มเพื่อให้ผู้ทีสนใจใคร่ศึกษาสามารถหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ง่ายขึน ขุมทรัพย์
่
อันล ้าค่านั้นก็คือ “ชาดก” ทีปรากฏในขุททกนิกาย แห่งพระสุตตันปฎกนั่นเอง
ิ
่
เปนที่นาสังเกตว่า ชาดก ที่ได้ชือว่าเปนขุมทรัพย์อันล าค่านั้นโดยนัยแห่งความหมายแล้ว
็
็
้
่
มีประวัติและความเปนมาอย่างไร มีกีประเภทและในแต่ละประเภทนั้นเหตุการณหรือเรืองอะไร
่
่
์
็
่
่
ทีพระพุทธองค์ได้ตรัสสอนมากกว่าเรืองอื่นบทความนีจะได้กล่าวถึงและวิเคราะห์ให้เห็นในตอนท้าย
้
่
้
พร้อมกันนีเอกสารทีใช้ในการอ้างอิงเพื่อให้ผู้อ่านทีสนใจได้ค้นคว้าเพิ่มเติมมีการกล่าวถึงในตอนท้าย
่
่
้
้
้
ของบทความนีด้วย เพือให้บรรลุวัตถุประสงค์และสร้างความเข้าใจในเนือหาของบทความนี ผู้เขียน
จะได้นาเสนอเปนหัวข้อแต่ละข้อตามล าดับทีกล่าวแล้วข้างต้น ดังนี ้
่
็
3. ความหมายและประวัติ
่
ิ
ชาดกทีปรากฏในคัมภีร์สุตตันตปฎก ขุททกนิกายนั้น ได้มีนักปราชญ์ ราชบัณฑิตได้อธิบาย
่
ความหมายและกล่าวประวัติไว้ทีนาสนใจ ดังนี ้
่
่
์
ฺ
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) (2553, น. 83) ได้อธิบายเรืองชาดกไว้ ดังนี ้
ิ
่
่
่
“เครืองเล่าเรืองราวทีพระพุทธเจ้าได้ทรงเกิดมาแล้ว” ชือคัมภีร์ในพระไตรปฎก อันเล่าเรือง
่
่
่
พระชาติในอดีตของพระพุทธเจ้า เมื่อยังเปนพระโพธิสัตว์ซึงก าลังทรงบ าเพ็ญบารมี มีจ านวนทั้งหมด
็
ตามตัวเลขถ้วนที่กล่าวในอรรถกถาทั้งหลายว่า 550 ชาดก (นับตรงเลขว่า 547 ชาดก แต่คนไทย
็
มักพูดตัดเลขแค่หลักร้อยว่า พระเจ้า 500 ชาติ) ทั้งหมดนีจัดเปนพระไตรปฎก 2 เล่ม (ฉบับอักษรไทย
ิ
้
คือเล่ม 27 และ 28), อย่างไรก็ตาม เนืองจากชาดกทั้งหมดในพระไตรปฎกเปนคาถาล้วน ๆ
ิ
่
็
็
(เว้นชาดกหนึงทีเปนความร้อยแก้ว คือกุณาลชาดก) และโดยมากเปนเพียงค ากล่าวโต้ตอบกัน
็
่
่