Page 199 -
P. 199

ิ
                                    ์
                                                  ิ
                                 ิ
                         ิ
                                                                        ุ
                                                                ั
                       ื
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         168
                                                                2
       เพิ่มเติมลงไป จึงเปนการยากทีจะระบุได้ว่าใช่ผลงานของอีสปหรือไม่  นิทานอีสปเปนเรื่องเกียวกับ
                       ็
                                                                             ็
                                                                                    ่
                                 ่
                ่
                               ็
       ชีวิตสัตว์เมือจบจะมีลักษณะเปนสุภาษิตสอนใจ (เฉลิม มากนวล, 2518, น. 28-29)
                          ี
              3.1 ชาดกจะมอยู่ 3 ประเภท
              3.1.1 ประวัติศาสตร์หรือพงศาวดาร
                                                                         ่
              ชาดกไม่ได้มีเฉพาะในพระสุตตันตปฎกเท่านั้น บางครั้งไปปรากฎอยูในพระวินัยปฎกก็มี
                                             ิ
                                                                                    ิ
       ตัวอย่างเช่นประวัติศาสตร์หรือพงศาวดารบ้านเมืองสมัยโบราณเรืองทีฆาวุกุมาร เปนต้น
                                                            ่
                                                                          ็
                                                                                       ่
                                                        ุ
              พระพุทธเจ้าปรารภการทะเลาะกันของเหล่าภิกษชาวเมืองโกสัมพีทะเลาะกันว่าด้วยเรือง
                                            ่
                                                                      ุ
                                      ็
           ้
                                                                             ่
       ของนาล้างส้วม สุดท้ายสงฆ์แตกกันเปนสองฝาย พระพุทธเจ้าจึงตรัสสอนภิกษทั้งสองฝายว่า

                                                          ่
                                                                    ่
              “ภิกษทั้งหลาย ท าไมพวกเธอจึงทะเลาะกันด้วยเรืองไม่เปนเรือง บัณฑิตสมัยก่อนฆ่า
                                                                 ็
                   ุ
                                         ่
                                    ่
       พระราชบิดาพระราชมารดาของอีกฝายหนึงรวมทั้งยึดเมืองของอีกฝายหนึง แต่สุดท้าย เมือมีโอกาสที ่
                                                                   ่
                                                              ่
                                                                                ่
                        ่
                   ่
       จะโต้ตอบอีกฝายหนึง แต่ก็ให้อภัยเมตตาต่อกัน มีขบวนการสมานฉันท์คือการให้อภัยซึ่งกันและกัน
            ็
          ้
       ดังนีเปนต้น” (มหา. วิ. 5/312/238.)
                                           ่
                    ้
                            ็
                                   ่
              อย่างนีเรียกว่าเปนชาดกทีแทรกอยูในพระวินัยด้วย
                                                       ่
              ตัวอย่างเรืองทีฆาวุกุมารในทีฆีติโกสลชาดก อยูในข้อที่ 371 ในอัฑฒวรรค ปญจกนิบาต
                                                                                ั
                       ่
       ซึงทีฆาวุกุมารได้เปนผู้รวบรวมแคว้นกาสีและโกศลเข้ามาอยูในปกครองเดียวกันจนกระทั่งมาถึง
                                                           ่
                       ็
        ่
                             ้
       สมัยพุทธกาล ชาดกเรื่องนีมีทั้งในส่วนทีเกียวข้องกับเนือหาทางประวัติศาสตร์และมุ่งแสดงหลักธรรม
                                                    ้
                                          ่
                                        ่
                                                               ็
                                                                     3
       คือการไม่ล่วงละเมิดค าสอนของมารดาบิดา การรู้จักให้อภัยแก่ศัตรูเปนส าคัญ



                          ี
              2  อีสปเกิด 208 ป ก่อน พ.ศ. พระพุทธเจ้าประสูติก่อน พ.ศ. 80 ป อีสปแก่กว่าพระพุทธเจ้า 128 ปี
                                                            ี
                 ่
                                                              ่
              3  ผู้ทีสนใจสามารถศึกษาได้จากวารสารมนษยศาสตร์วิชาการ ปที 26 ฉบับที 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562)
                                                                      ่
                                             ุ
                                                            ี
                                                                                    ุ
       หนา 61 ชือเรือง การสร้างสันติภาพตามแนวพระพุทธศาสนา : ศึกษากรณีพระเจ้าพรหมทัตและพระราชกมารฑีฆาวุ
              ่
                 ่
         ้
       เขียนโดย ชัชวาลย์ ชิงชัย
   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204