Page 203 -
P. 203

ิ
                                 ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                    ์
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         172

                                                 ่
        ่
                                     ่
       ทีท าให้บรรลุธรรม ในส่วนการตั้งชือชาดกจะนาชือพระโพธิสัตว์มาเปนชือชาดกเปนส่วนมาก เช่น
                                                                  ็
                                                                     ่
                                                                              ็
                                 ่
                              ็
       เสรีววาณิชชาดก เปนต้น เปนชือชาดกเหมือนในอปณณกวรรคทีกล่าวไปแล้ว
                                                 ั
                                                            ่
                       ็
              ชัชวาลย์ ชิงชัย (เอกสารประกอบค าบรรยายวิเคราะห์ชาดก, ม.ป.ป.) ได้วิเคราะห์เรื่องชาดกไว้
                  ็
                                                          ็
       ว่า “ชาดกเปนเรืองของพระพุทธเจ้าจึงมีศัพท์เรียกชาดกเปนภาษาชาวบ้านว่า พระเจ้า 500 ชาติ
                     ่
                                                                       ็
       แต่ส่วนมากจะเปนเรืองราวของพระองค์บ้าง ของพระสาวกบ้าง แต่เปนเรืองทีพระโพธิสัตว์
                                                                           ่
                          ่
                      ็
                                                                               ่
                                                                                         ็
                      ์
         ่
                                              ่
       อยูในเหตุการณบ้าง เปนผู้กล่าวสอนผู้อืนบ้าง การเรียนเนือหาชาดกจะมีลักษณะเปน
                              ็
                                                                 ้
       การนาเชื่อมเหตุการณ 2 ชาติมาเกียวข้องกัน ถ้าเปนภาพยนตร์ในสมัยปจจุบันนีจะเปนรูปแบบที่นิยม
                                                                          ้
                         ์
                                                                              ็

                                                                   ั
                                    ่
                                                 ็
       ในการเดินเรืองของภาพยนตร์จะนิยมใช้รูปแบบคล้ายชาดก โดยเริ่มจากเรืองในปจจุบันจากนั้นจึง
                                                                       ่
                                                                             ั
                  ่
                                                                      ์
       ย้อนกลับไปในอดีต ชาดกก็จะเริ่มจากเรืองในสมัยพุทธกาลว่ามีเหตุการณอะไรเกิดขึ้น ปรารภใคร
                                         ่
                              ้
                                                                  ่
                                           ่
                        ์
         ็
       เปนเหตุ เหตุการณทีเกิดขึนนั้นจะมีทั้งเรืองดีและไม่ดี ตัวอย่างในเรืองดี พระพุทธองค์จะตรัสว่า
                         ่
       ไม่ใช่เฉพาะชาตินีอย่างเดียวทีเธอปฎิบัติดี แม้ในอดีตชาติเธอก็จะประพฤติดีแบบนีเหมือนกัน จากนั้น
                      ้
                                                                           ้
                                ่
                                                                                         ็
       ทรงนาเรืองในอดีตมาเล่า ในอดีตชาติเธอก็ประพฤติดีแบบนีเหมือนกันมาเล่าหรือบางทีก็จะเปน
                                                            ้

               ่
                      ์
            ่
         ่
                                ็
                                                        ่
       ผู้ทีอยูในเหตุการณเห็นความเปนไปของเรืองราวและพูดถึงเรืองราวนั้น เปนต้น”
                                                                   ็
                                         ่
              ในชาดกเวลากล่าวถึงประวัติของพระพุทธเจ้าในอดีตชาติจะใช้ค าว่า “พระโพธิสัตว์” หมายถึง
       บุคคลที่ยังไม่ได้ตรัสรู้ แต่ก าลังสร้างบารมีเพือจะตรัสรู้ต่อไปในอนาคต ค าว่า โพธิ แปลว่า ตรัสรู้
                                             ่
       สัตว์ แปลว่า ผู้ยังต้องข้องแวะเวียนตายเกิดในสังสารวัฏ
              การศึกษาชาดกในพระสุตตันตปฎกนั้นจะอ่านไม่เข้าใจ เนืองจากในบาลีจะเปนคาถาล้วน
                                                               ่
                                         ิ
                                                                               ็
                                                                       ็
                                   ่
       ดังตัวอย่างเรืองอปณณกชาดกซึงเปนเรืองแรกในชาดก แม้แปลออกมาเปนภาษาไทยแล้วก็ยัง
                                          ่
                                      ็
                  ่
                       ั
                                                                                    ุ
                                                                                     ่
                                                                 ่
                                   ่
                               ่
                                                                     ่
                                                              ็
       อ่านไม่เข้าใจเพราะไม่ทราบทีมาทีไปว่ามีความเปนมาอย่างไร แต่เปนเรืองทีดีส าหรับพระภิกษทีจะใช้
                                               ็
                                                        ็
       ท่องจ าค าสอนในส่วนชาดก เพราะในส่วนคาถานั้นถือว่าเปนหัวใจหลักของชาดก เพือความเข้าใจ
                                                                              ่
       จึงจ าเปนต้องอ่านอรรถกถาประกอบด้วย ตัวอรรถกถาที่อ่านประกอบชาดกที่เปนบาลีนั้นเรียกว่า
                                                                           ็
             ็
                    ็
       ชาตกัฏฐกถา เปนการรจนาของพระพุทธโฆษาจารย์
              อรรถกถาจะอธิบายให้ทราบ โดยเริ่มตั้งแต่เรืองนีเกิดขึ้นในขณะที่พระพุทธเจ้าประทับอยู
                                                        ้
                                                    ่
                                                                                         ่
                                                  ็
                                                           ่
                                       ้
       วัดไหน ทรงปรารภใครจึงได้ตรัสคาถานี จากนั้นจะเปนการเล่าเรืองประวัติของบุคคลนั้น ตัวอย่างเช่น
                                     ่
                                                   ่
                 ุ
       มีพระภิกษรูปหนึงเกิดความเสนหาในสตรีผู้หนึงจนต้องการจะสึกไปแต่งงานกับสตรีนั้น
                       ่

       เมื่อบรรดาเพื่อนของท่านทราบเรืองจึงนาตัวท่านไปเข้าเฝาพระพุทธเจ้าเพือให้พระพุทธองค์ตรัสสอน
                                                      ้
                                  ่
                                                                    ่
       จะได้เกิดความเบื่อหนายในเพศฆราวาสและไม่ต้องลาสิกขา
                         ่
   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207   208