Page 198 -
P. 198

์
                                                                ั
                                                  ิ
                                 ิ
                                                                        ุ
                                        ิ
                         ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   167
                                                                              ่
                                                                                      ่
                    “นิทานอย่างชาดกนีไม่ได้มีแต่คัมภีร์ฝายพระพุทธศาสนาในหมูชนชาติอืน ภาษาอืน นอกจาก
                                                  ่
                                                                      ่
                                    ้
                                                 ่
                                                                           ็
            พระพุทธศาสนาก็มีปรากฏเหมือนกับชาติอืน ๆ เช่น อาหรับ เปอร์เซีย เปนต้น ก็ว่ามีนิทานเช่นนี ้
            คล้ายคลึงกัน แต่จะยกไว้ไม่กล่าวเพราะไม่มีตัวเรืองมาเปรียบเทียบ จะยกแต่นิทานอีสปซึงข้าพเจ้า
                                                      ่
                                                                                       ่
                                                                                     ่
                                                    ่
                       ็
            ได้แปลลงเปนภาษาไทยช้านานมาแล้วได้ตั้งชือว่า อีสปปกรณัมของนักปราชญ์ผู้หนึงชือว่าอีสป
                                                                                       ่
                                                                             ่
                      ้
            เปนผู้แต่งขึนในประเทศกรีซ นักปราชญ์ผู้นีได้แต่งหนังสือฉบับนั้นแต่ในเมือเวลาราว ๆ กันกับ
              ็
                                                  ้
            พุทธกาลมีท านองนิทานอย่างเดียวกัน คือ เทวดาพูดกับคน ดิรัจฉานต่อดิรัจฉานพูดกันเอง
                                      ่
                                                                                        ่
                                                                      ่
            ท านองเดียวกันกับชาดกและเรืองราวทีอีสปกล่าวนั้นก็มีคล้ายคลึงกันทีอาจเปรียบเทียบกับเรืองชาดก
                                            ่
            ได้หลายเรือง” (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว, 2540)
                     ่
                                                        ่
                                                                                           ์
                                                                      ่
                    ผู้ทีสนใจศึกษาชาดกนั้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัวได้ทรงพระราชวิจารณไว้ว่า
                      ่
            มี 3 พวก คือ
                                     ั
                                                  ่
                                                                      ่
                                                                          ่
                    1) พวกทีสนใจชอบฟงแต่นิทานไม่ใฝใจในธรรมหรือสุภาษิตซึงมีอยูในชาดกนั้น ๆ
                            ่
                                                                      ่
                                             ่
                                                                ็
                    2) พวกทีแสวงหาแต่ธรรม เมืออ่านชาดกก็เห็นว่าเปนแต่เรืองเล่านิยาย การทีจะแสวงหา
                            ่
                                                                                      ่
                      ธรรมในชาดกเหมือนกับการร่อนทรายหาทองซึ่งมีอยูแต่เล็กนอยไม่คุ้มกับความล าบาก
                                                                          ้
                                                                   ่
                      สู้หนังสือฉบับอืนซึงอาจจะพบธรรมได้ง่ายไม่ได้ ก็ละเลยไม่ได้อ่าน
                                      ่
                                   ่
                    3) เปนผู้ทีปรารถนาเพื่อวินิจฉัยว่าชาดกนั้น ๆ พระพุทธเจ้าจะได้เทศนาอย่างนั้นจริงหรือไม่
                        ็
                             ่
                                                        ็
                                                                                           ้
                                                           ้
                                                                                              ้
                      และเห็นว่าชาดกแต่งโดยไม่มีความจริงเปนพืนฐาน และต าหนิผู้แต่งว่าท าให้เกิดไฝฝาขึน
                      ในพระพุทธศาสนา
                    พระองค์เสนอแนะว่า ทีเปนเช่นนั้นก็มาจากการตั้งวงพิจารณาคับแคบ เริ่มจากพวกเอาสนก
                                         ็
                                       ่
                                                                                              ุ
            ฟงแต่นิทาน พวกสองมุ่งเนนแต่ตัวธรรมจนเกินไป พวกทีสามมุ่งแต่ความจริงอย่างเดียว
              ั
                                      ้
                                                                  ่
                                                                         ์
            การศึกษาชาดกนั้นควรตั้งวงพิจารณาอย่างกว้างขวาง เพือจะได้ประโยชนจากชาดก (พระบาทสมเด็จ
                                                           ่
                               ่
            พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว, 2540)
                    อรรถกถาชาดกไม่ได้มีเฉพาะภาษาบาลีและภาษาไทยเท่านั้น หากแต่นักปราชญ์
            ชาวต่างประเทศได้แปลและพิมพ์เปนภาษาอังกฤษ ฉบับมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ 6 เล่ม โดยพิมพ์
                                          ็
            ครั้งแรกเมือ ค.ศ. 1895 มีส านวนภาษาอังกฤษอีก 2 ส านวนของศาสตราจารย์ริส เดวิดส์แปลไว้
                     ่
                                                           ่
            40 เรือง และส านวนของฟรานซิสกับโทมัสแปลไว้ 114 เรือง (เฉลิม มากนวล, 2518, น. 28)
                 ่
                                                         ่
                    ส าหรับนิทานอิสปทีเล่ากันมาตั้งแต่ศตวรรษที 6 ก่อน ค.ศ. มีมากมายเปนพันเรื่องและอีสป
                                                                               ็
                                    ่
                                              ่
                  ็
                                                                                     ่
            ก็ได้เปนเจ้าของทั้งหมด เนืองจากบางเรืองมีการเล่ากันมานานก่อนอีสปแล้ว ในบางเรืองก็มีผู้แต่ง
                                   ่
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203