Page 197 -
P. 197

ิ
                                    ์
                                 ิ
                                                  ิ
                                                                ั
                                                                        ุ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                         ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         166
                                                       ่
                    ่
       ของบุคคลในเรือง พร้อมทั้งพระด ารัสของพระพุทธเจ้าทีตรัสสรุปหรือแสดงคติธรรม อันเรียกว่า
       อภิสัมพุทธคาถาเท่านั้น ไม่ได้เล่าเรืองโดยละเอียด ผู้อ่านเข้าใจได้ยาก จึงมีอรรถกถาขึ้นมาช่วย
                                     ่
                                                                                        ็
       อธิบาย เรียกว่า “ชาตกัฏฐกถา” (เรียกให้ง่ายว่า อรรถกถาชาดก) ซึงขยายความออกไปมาก จัดเปน
                                                               ่
       เล่มหนังสือฉบับบาลีอักษรไทยรวม 10 เล่ม เรืองชาดกทีเรียนและเล่ากันทั่วไป ก็คือเล่าตาม
                                                          ่
                                                ่
       ชาตกัฏฐกถานี แต่นักศึกษาพึงรู้จักแยกระหว่างส่วนทีมีในพระไตรปฎก กับส่วนทีเปนอรรถกถา”
                   ้
                                                  ่
                                                             ิ
                                                                         ่
                                                                          ็
                         ุ
                                                     ่
              สุชีพ ปุญญานภาพ (2554, น. 614) ได้อธิบายเรืองชาดกไว้ ดังนี  ้
                                                              ่
              “ค าว่า ชาตก หรือ ชาดก แปลว่า ผู้เกิด คือการเล่าถึงการทีพระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิด
                                                      ์
       ถือเอาก าเนิดในชาติต่าง ๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณดีบ้าง ชั่วบ้าง แต่ก็ได้พยายามท าความดี
                                                           ่
                      ้
                                        ็
       ติดต่อกันมากบ้างนอยบ้างตลอดมาจนเปนพระพุทธเจ้าในชาติทีสุด
              กล่าวอีกอย่างหนึง จะถือว่าชาดกเปนวิวัฒนาการแห่งการบ าเพ็ญคุณงามความดี
                                                ็
                              ่
                                            ่
                             ็
       ของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ยังเปนพระโพธิสัตว์อยูก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่าผู้นั้นผู้นีกลับชาติมาเกิด
                                                                            ้
       เปนใครในสมัยพระพุทธเจ้า แต่ในบาลีพระไตรปฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง เพราะฉะนั้น สาระส าคัญ
                                               ิ
         ็
       จึงอยูทีคุณงามความดีและอยูทีคติธรรมในนิทานนั้น ๆ”
             ่
           ่
                              ่
                                ่
                                                ่
              พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว มีพระราชปรารภมูลเหตุทีจะแปลและพิมพ์
                                                                          ่
       นิบาตชาดกไว้เปนหนังสือแจกในงานพระศพพระเจ้าลูกเธอ พระองค์เจ้าศรีวิลัยลักษณ กรมขุน
                                                                                  ์
                     ็
                                                             ็
                                        ้
       สุพรรณภาควดี พระเจ้าลูกเธอพระองค์นีมีเจ้าคุณพระประยุรวงศ์เปนเจ้าจอมมารดา ประสูติในรัชกาล
       ที่ 4 เมือปมะโรง พ.ศ. 2411 สินพระชนม์ในรัชกาลที่ 5 เมือปมะโรง พ.ศ. 2447 (พระบาทสมเด็จ
                                                           ี
                                 ้
                                                        ่
               ี
             ่
                         ่
       พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว, 2540)
              พระองค์ได้ทูลหารือกับพระเจ้านองเธอ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
                                         ้
                                                                           ้
       ได้แปลส าเร็จทันแจกงานพระศพได้ 6 เล่มเท่านั้น ในป พ.ศ. 2447 จากมูลเหตุนี พระบาทสมเด็จ
                                                     ี
                                                                    ็
                                                                                         ์
       พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชปรารภถ้าได้แปลนิบาตชาดกลงเปนภาษาไทยอย่างสมบูรณ
            ็
       ก็จะเปนประโยชนมาก ตรัสว่า “ถ้าหนังสือเช่นนี (นิบาตชาดก) จะมีอยู่ในภาษาไทยทั้งหมดก็จะนับว่า
                      ์
                                              ้
                                                                                 ่
             ่
         ็
       เปนเครืองอลังการใหญ่ในหนังสือและภาษาของเรา (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัว, 2540)
                                                                                    ่
                                                ่
              พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหัวได้พระราชทานพระบรมราชาธิบายเกียวกับ
                       ่
       นิบาตชาดกตอนหนึงว่า
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202