Page 200 -
P. 200

ิ
                       ื
                                                                        ุ
                                                                ั
                                    ์
                                 ิ
                                        ิ
                         ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   169
                    3.1.2 นิทานพืนบ้าน
                               ้

                                                                            ็
                    ลักษณะของนิทานพืนบ้านจะมีอยูในถิ่นต่าง ๆ ของชมพูทวีป เปนการเล่าสืบต่อกันมา
                                                 ่
                                     ้
            ไม่ใช่มีเฉพาะแต่ในอินเดียอย่างเดียว หากแต่จะครอบคลุมไปถึงแถว อาหรับ เปอร์เซีย ปากีสถาน
            อัฟกานิสถาน

                                                  ่
                    จะเห็นได้จากมีหลายเรืองทีเดียวทีนิทานชาดกไปตรงกันกับนิทานอีสปของกรีกอาจจะ
                                        ่
            เปนไปได้ว่าเปนนิทานเก่าแก่ทีเล่าสืบ ๆ กันมา ต่อมา พวกพ่อค้าเกวียนเดินทางไปค้าขายก็เล่าต่อ ๆ
              ็
                        ็
                                      ่
            กันไป สามารถอ่านเทียบเคียงได้กับฉบับของโจเซฟ จาคอบ ทียศ วัชรเสถียรแปล
                                                               ่
                                          ่
                              ่
                         ่
                             ่
                                                          ั
                                                    ็
                                                                           ่
                    เปนเรืองทีนาประหลาดทีชาดกอันเปนภูมิปญญาตะวันออกมีเรืองทีตรงกับภูมิปญญา
                                                                                          ั
                     ็
                                                                               ่
            ตะวันตก เช่น สุวัณณหังสชาดก ชาดกทีว่าด้วยหงส์มีขนเปนทองค า ข้อที 136 ในอสัมปทานวรรค
                                                                          ่
                                              ่
                                                              ็
            เอกนิบาต เปนต้น
                       ็
                    3.1.3 นิทานพังเพยแบบสุภาษิต
                                       ุ
                      ็
                         ่
                    เปนเรืองระหว่าง มนษย์พูดกับสัตว์ สัตว์พูดกับสัตว์ หรือเทวดาแสดงธรรม เช่น
                                                                                               ู
            ในสุวัณณสามชาดก พระโพธิสัตว์บ าเพ็ญเมตตาบารมี เปนต้น มีใจความว่า พระโพธิสัตว์ถูกธน
                                                              ็
            ของพระเจ้าปลยักษ์จนถึงแก่ความตาย มารดาบิดาได้ตั้งสัจจะอธิษฐาน ขอให้พิษของศรหมดไป
                        ิ
                        ื
            สุวรรณสามฟนคืนสติ และได้แสดงคติธรรมว่า ผู้ใดเลียงดูมารดาบิดาโดยธรรม ย่อมมีเทวดารักษา
                        ้
                                                         ้
            ย่อมเจริญในทางโลกนี ละโลกนีไปย่อมเข้าถึงสรรค์
                                      ้
                               ้
                                                         ่
                                                                         ่
                    การแสดงชาดกในท านองนีจะเปนการหลีกเลียงการแสดงธรรมทีกระทบตนเองและผู้อื่นหรือ
                                          ้
                                              ็
                                    ็
                                 ่
                                                                          ็
                                                                                        ั
            การแสดงธรรมเสียดสีผู้อืน เปนการสอนธรรมะ โดยให้ตัวละครในนิทานจะเปนผู้สอนและรับฟงค าสอน
                    ั
            ท าให้ผู้ฟงไม่รู้สึกว่าไม่มีส่วนใดมากระทบตัวเอง ก็จะเกิดความเพลิดเพลินและสามารถนอมนา
                                                                                          ้

            ธรรมะนั้นมาปฏิบัติให้เหมาะสมได้
            4. ชาดกในพระสุตตันตป ิ ฎก
                               ิ
                    พระสุตตันตปฎก ประมวลธรรมเทศนา ประวัติและเรืองราวต่าง ๆ วศิน อินทสระ (2556,
                                                                ่

            ค านา) ได้เรียบเรียงไว้ ดังนี พระสุตตันตปฎกแบ่งออกเปน 5 หมวด คือ
                                                          ็
                                              ิ
                                   ้
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205