Page 201 -
P. 201
ิ
์
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ื
ิ
ั
ุ
ิ
เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
170
1) ทีฆนิกาย มีลักษณะทีเปนพระสูตรยาว
่
็
2) มัชฌิมนิกาย มีลักษณะทีเปนพระสูตรขนาดกลาง
็
่
่
่
่
่
่
3) สังยุตตนิกาย มีลักษณะทีเปนพระสูตรทีจัดกลุ่มตามหัวเรืองทีเกียวข้อง
็
4) อังคุตรนิกาย มีลักษณะทีเปนพระสูตรทีจัดกลุ่มตามจ านวนข้อธรรม
่
่
็
็
5) ขุททกนิกาย มีลักษณะที่เปนพระสูตร ชุมนมพระสูตร ภาษิต ค าอธิบาย และเรืองราว
ุ
่
เบ็ดเตล็ดมี 15 เรืองคือ 1. ขุททกปาฐะ 2. ธรรมบท 3. อุทาน 4. อิติวุตตกะ 5. สุตตนิบาต
่
6. วิมานวัตถุ 7. เปตวัตถุ 8. เถรคาถา 9. เถรีคาถา 10. ชาตกหรือชาดก 11. นิทเทส
ิ
12. ปฏิสัมภิทามรรค 13. อปทาน 14.พุทธวงศ์ 15. จริยาปฎก
์
็
บางครั้ง มีการแบ่งค าสอนของพระพุทธเจ้าออกเปน 9 เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน
นว แปลว่า 9 อังคะ แปลว่า องค์หรือหัวข้อ สัตถุ คือพระศาสดา ศาสน แปลว่า ค าสอน เมื่อแปล
่
โดยรวมจึงแปลว่า ค าสอนของพระพุทธเจ้าทีประกอบด้วยองค์ 9 มีดังต่อไปนี ้
1) สุตตะ คือพระสูตรมากมายรวมทั้งพระวินัยปฎกและนิทเทส
ิ
2) เคยยะ คือเนือความทีมีทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองผสมกัน ได้แก่พระสูตรทีมีคาถาทั้งหมด
่
่
้
3) เวยยากรณะ คือไวยากรณ ได้แก่เนือความทีมีแต่ร้อยแก้วอย่างเดียว ได้แก่
์
้
่
พระอภิธรรมปฎกทั้งหมดและพระสูตรทีมีคาถา
่
ิ
็
่
้
4) คาถา คือเนือความทีเปนร้อยกรองอย่างเดียว เช่น ธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา
่
5) อุทาน คือ พระคาถาทีเปนพุทธอุทานมี 82 สูตร
็
6) อิติวุตกะ คือ พระสูตรทีเรียกว่า อิติวุตตกะ 110 สูตร
่
7) ชาดก คือชาดกทีมีทั้งหมด 547 เรือง
่
่
่
่
็
8) อัพภูตธรรม เรืองมหัศจรรย์ ได้แก่เรืองทีเปนความอัศจรรย์ต่าง ๆ
่
9) เวทัลละ คือพระสูตรทีเกียวกับการถามตอบทีท าให้เกิดความรู้และความพอใจ ต่อจากนั้น
่
่
่
้
4
ก็จะถามยิ่ง ๆ ขึนไป
็
่
สรุปว่า ไม่ว่าจะจัดค าสอนในรูปแบบไหนจะมีชาดกอยูตลอด เปนการยืนยันว่าชาดก
็
็
เปนหลักฐานชั้นต้นอันถือว่าเปนค าสอนของพระพุทธเจ้า ตัวชาดกในบาลีจะแบ่งออกเปน 2 ภาค
็
ได้แก่ พระไตรปฎกเล่มที 27 เรียกว่า ปฐมภาค ภาคที 1 มี 17 นิบาต คือ เอกนิบาต (ชาดกที่มี
ิ
่
่
่
่
้
คาถาเดียว) เตรสนิบาต (ชาดกทีมี 13 คาถา) ปกิณณกนิบาต (คาถาทีมีมากกว่า 13 คาถาขึนไป)
4 ดูเพิ่มเติมในพระไตรปฎกและอรรถกถาแปลพระสุตตันตปฎก ขุททกนกาย ชาดก ภาค 1 เล่ม 1
ิ
ิ
ิ
้
หนาค านาในการพิมพ์ครั้งแรก ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย