Page 192 -
P. 192
ุ
ื
ิ
์
ั
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล” 161
สรุป
การศึกษาพุทธธรรมทั้งหมดในเชิงพรรณนาจัดเปนการศึกษาแบบพระพุทธศาสนา ถ้าศึกษา
็
็
ในเชิงวิเคราะห์และอภิปรายเชิงเหตุผลจัดเปนการศึกษาแบบพุทธปรัชญาและพุทธปรัชญาแทรกอยู ่
ครบองค์ทั้ง 4 ขององค์ประกอบทางพระพุทธศาสนา คือ ศาสนธรรม ศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล ศาสนพิธี
่
และพระไตรปฎกมีนัยเชิงพุทธปรัชญาแฝงอยูด้วยเช่นกัน ทั้งพุทธอภิปรัชญา พุทธญาณวิทยา
ิ
พุทธจริยศาสตร์ เปนต้น
็
ุ
็
ส าหรับพุทธอภิปรัชญา เปนความจริงทีสามารถรู้ได้และไม่อยูในเกณฑ์วิสัยของมนษย์
่
่
่
ทีจะรับรู้ เข้าใจและเข้าถึงได้ เพราะพุทธปรัชญาไม่ได้ใช้เกณฑ์ตัดสินเพียงประสาทสัมผัสทั้งห้าเท่านั้น
ั
ึ
่
ุ
ยังให้ความส าคัญแก่ศักยภาพด้านจิตใจของมนษย์ทีสามารถฝกฝนให้เกิดปญญาหยั่งรู้ถึงความจริง
ที่ว่านีได้ โดยเฉพาะความจริงที่รู้แล้วจะเปนประโยชนต่อการด าเนินชีวิต อันมีความเกี่ยวโยงกัน
์
้
็
ระหว่างวิถีชีวิตมนษย์กับความจริงนั้น ๆ กล่าวคือ ความจริงทีตรัสนั้นต้องเอื้อต่อการหลุดพ้นจาก
่
ุ
ทุกข์ในสังสารวัฏฏ์นี ้
พุทธญาณวิทยา ถือว่าการรับรู้เกิดจากประสาทสัมผัสหรืออายตนะภายในสัมผัสกับ
่
วัตถุภายนอกหรืออายตนะภายนอก และจิตเข้าไปรับรู้ จึงเกิดกระแสความคิดมากมาย ส่วนแหล่งทีมา
่
ั
ั
่
ของความรู้ คือ สุตมยปญญา คือ ความรู้ทีเกิดมาจากการได้ยิน ได้ฟง ถ่ายทอดมาจากผู้อืน
ั
(ปรโตโฆสะ) จินตามยปญญา คือ ความรู้ทีเกิดมาจากการนึกคิดพิจารณาในเหตุและผล
่
ั
ของความเปนจริงทีได้รับรู้ และภาวนามยปญญา คือ ความรู้ทีเกิดมาจากประสบการณโดยตรง
์
็
่
่
ของภายในจิตของตนเอง อันเนืองมาจากมีญาณพิเศษหยั่งรู้ เข้าใจถึงสภาวะของสรรพสิ่งอย่างถูกต้อง
่
และแท้จริง จัดเปนความรู้เชิงประจักษประมาณ (Empirical) ในทางปรัชญาตะวันตก เรียกว่า
็
ญาณทัศน ซึงเปนความรู้ทีเกิดขึนภายหลังจากมีประสบการณแล้ว และไม่ควรเชืออะไรง่าย ๆ
่
์
็
่
่
้
์
่
อย่างทีพระองค์ตรัสไว้ในกาลามสูตร
็
่
ส่วนพุทธจริยศาสตร์เปนหลักเกณฑ์ทีได้ให้ความหมายความดี ความชั่ว เกณฑ์ตัดสิน
่
็
่
็
้
จริยธรรมทีเนนเจตนาเปนหลักในการตัดสินของการกระท า ซึงพระพุทธเจ้าได้วางไว้เพือเปนมาตรฐาน
่
่
ความประพฤติของมนษย์ เพื่อให้มนษย์ได้ด าเนินชีวิตอันดีงามตามอุดมคติเท่าทีมนษย์จะขึนให้ถึงได้
้
ุ
ุ
ุ
่
็
่
ให้เปนมนษย์ทีสมบูรณ มีสติปญญา มีความสุขอันสมบูรณทีสุด เพราะพุทธจริยศาสตร์เปนเรือง
์
์
่
ั
็
ุ
่
ทีว่าด้วยอุดมคติของชีวิตหรือความดีอันสูงสุด พุทธจริยศาสตร์ได้สอนหลักพุทธจริยธรรม