Page 187 -
P. 187

ิ
                                 ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                    ์
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         156
                       ็
       ดังนั้น นิพพานจึงเปนหลักในการตัดสินความดี ความชั่ว การท าความดีก็คือการด าเนินไปตามหนทาง
        ่
       สูนิพพาน หนทางนั้นชื่อว่า มรรคมีองค์ 8... ซึ่งพระพุทธองค์ทรงแนะนาให้ก าจัดอกุศลมูลเพราะ

       เปนบ่อเกิดของการกระท าที่ไม่ดี ท าให้มีความยึดมั่นถือมั่นในอัตตาตัวตน ในขณะเดียวกันก็ทรงก าชับ
         ็
       ให้พัฒนากุศลมูลให้เกิดมีขึ้นในจิตใจ เพราะเมื่อกุศลมูลเกิดขึ้นความยึดมั่นในอัตตาตัวตนก็จะหายไป
       เพราะมีอโมหเจตสิกท าให้รู้เห็นสิ่งต่าง ๆ ตามความเปนจริง”
                                                  ็

               และมีข้อความในสังยุตตนิกาย (สัง. สฬา.18/28/27) ดังทีพุทธองค์ได้ตรัสว่า
                                                             ่

                   ุ
              “ภิกษทั้งหลายจงละอกุศลเสียเถิด อกุศลเปนสิ่งที่อาจละได้ หากอกุศลเปนสิ่งที่ไม่อาจละได้แล้ว
                                                                       ็
                                                ็
       ไซร้ เราคงไม่กล่าวอย่างนั้น...แต่เพราะอกุศลเปนสิ่งที่อาจละได้ เราจึงกล่าวอย่างนั้น... อนึ่ง หากอกุศลนี ้
                                             ็
                                               ์
       คนละเสียแล้วจะพึงเปนไปเพื่อมิใช่ประโยชนเกือกูลเพื่อความทุกข์แล้วไซร้ เราคงไม่กล่าวว่า
                          ็
                                                 ้
       ภิกษทั้งหลายจงละอกุศลเสียเถิด แต่เพราะอกุศลนีคนละได้แล้วย่อมเปนไปเพื่อประโยชนเกือกูล
                                                                                   ์
                                                                   ็
                                                  ้
           ุ
                                                                                     ้
       เพื่อความสุข ฉะนั้น เราจึงกล่าวว่าภิกษทั้งหลายจงละอกุศลเสียเถิด  ภิกษทั้งหลาย จงฝกอบรมกุศลเถิด
                                                                  ุ
                                      ุ
                                                                            ึ
            ็
       กุศลเปนสิ่งที่อาจฝกอบรมได้ หากกุศลเปนสิ่งที่ไม่อาจฝกอบรมได้แล้วไซร้ เราคงไม่กล่าวอย่างนั้น...
                                                     ึ
                                        ็
                      ึ
                                                                 ้
                                                                     ึ
       แต่เพราะกุศลเปนสิ่งที่อาจฝกอบรมได้ เราจึงกล่าวอย่างนั้น... กุศลนีคนฝกอบรมแล้วย่อมเปนไป
                               ึ
                                                                                     ็
                    ็
                  ์
       เพื่อประโยชนเกื้อกูลเพื่อความสุข...”
              สรุปความว่า วิธีการตัดสินว่าอะไรคือความดี ความชั่ว ประการแรก คือ ให้ดูว่าการกระท านั้น
       เกิดจากกุศลมูล หรืออกุศลมูล ถ้าเกิดจากกุศลมูลก็เปนกรรมดี ถ้าไม่ใช่ก็เปนกรรมชั่ว คนทีจะรู้ดีทีสุด
                                                  ็
                                                                                       ่
                                                                    ็
                                                                                 ่
                                                        ่
                                                                  ่
       ว่าเปนกรรมทีมีสาเหตุมาจากอะไรก็คือผู้ท ากรรมเอง การดูทีเจตนาหรือทีมาของกรรมนีอาจเรียกได้ว่า
           ็
                                                                              ้
                  ่
                                                            ้
       เปนการดูอดีตของการกระท า คือพิจารณาย้อนหลังไปดูว่ากรรมนีมีรากเหง้ามาจากอะไร
         ็
              เกณฑ์ร่วม
                                                       ่
                ่
                                                                                        ่
                                                                                  ็
              เมือพิจารณาจากผลการกระท าหรือวินิจฉัยโดยดูทีผลของการกระท าอาจเรียกว่า เปนการทีดู
                                       ็
                               ่
                                                         ้
       อนาคตของการกระท า ซึงไม่จ าเปนต้องรอถึงชาติหนา เพราะการให้ผลของกรรมนั้นมี
                        ่
       ความเปนระเบียบสม าเสมอ ผู้ท ากรรมย่อมประจักษ์ชัดด้วยตนเอง ในการพิจารณาให้ตั้งค าถามว่า
             ็
                                      ็
                                                        ็
       การกระท าหรือสภาวธรรมนั้นให้ผลเปนคุณหรือโทษ ถ้าเปนคุณ การกระท านั้นหรือสภาวธรรมนั้น
                                                  ่
       ก็เปนความดี ถ้าเปนโทษก็เปนความชั่ว ดังข้อความทีพระเจ้าปเสนทิโกศลตรัสสนทนากับพระอานนท์
                              ็
                      ็
          ็
       ว่า
   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191   192