Page 183 -
P. 183

ิ
                                 ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                       ื
                                    ์
                                                                ั
                                                                        ุ
                                        ิ
                                                  ิ
                   เรื่องเล่าพระไตรปิฎก
         152
       5. พุทธจริยศาสตร์

              พุทธจริยศาสตร์ คือ ศาสตร์ทีว่าด้วยหลักการแห่งความประพฤติและวิธีปฏิบัติของผู้รู้ ผู้ตืน
                                       ่
                                                                                        ่
       ผู้เบิกบาน มีลักษณะ 5 ประการ คือ

                   ็
              1. เปนพุทธจริยธรรม คือ หลักการประพฤติและวิธีการปฏิบัติของผู้รู้ ผู้ตืน ผู้เบิกบาน
                                                                              ่
         ็
       เปนส่วนหนึงของธรรมชาติ
                ่
              2. เปนพรหมจรรย์ (พรหมจริยะ) คือ หลักการประพฤติ และวิธีปฏิบัติที่ประเสริฐเพือท า
                   ็
                                                                                      ่
        ่
       ทีสุดทุกข์ให้แก่ตัวเองตามวิธีการของอริยสัจ 4 ประการ หรือตามแบบของพรหมวิหาร 4 ประการ
                  ็
                                                                             ่
              3. เปนพระวินัย (ศีลธรรม) หรือ กฎ ระเบียบ วิธีการหรือหลักการประพฤติทีท าให้คนมีกาย
                       ็
       วาจาและใจดี และเปนวิธีปฏิบัติทีนาเลื่อมใสศรัทธา
                                  ่
                                   ่
                                  ่
                  ็
              4. เปนสัจธรรม คือ สิ่งทีเปนจริง มีอยูจริงในกระบวนการของธรรมชาติหรือกฎ ความเปนจริง
                                             ่
                                    ็
                                                                                     ็
                                       ่
                               ็
                                          ็
                                    ่
                                              ่
       ของธรรมชาติในแนวกว้าง เปนสิ่งทีมีอยู เปนอยู โดยธรรมชาติ
                   ็
                                           ่
              5. เปนสามัญลักษณ คือ อาการทีเสมอกันของสิ่งทั้งหลายทั้งปวง หรือไตรลักษณะ คือ
                                ์
                                                                             ็
       อาการทีเหมือนกันของสิ่งทั้งหลายทั้งปวง 3 ลักษณะ คือ ความไม่เทียง (อนิจจัง) เปนทุกข์ (ทุกขัง)
              ่
                                                                ่
                                                                                 ่
                                          ็
       และความปราศจากตัวตน (อนัตตา) หรือเปนปฏิจจสมุปบาท คือ ธรรมทีมีความสัมพันธ์เกียวข้องกัน
                                                                  ่
       แบบพลวัต หรือเปนธรรมนิยาม คือ ธรรมชาติทีเหมือนกันอย่างแนนอนหรือธรรมฐิติ คือ ธรรมทีมีหลัก
                                             ่
                      ็
                                                                                    ่
                                                             ่
       มีกฎ ของสรรพสิ่ง
              ความหมายของความดและความชั่ว
                                   ี
              ความดีมีค าที่ใช้ในความหมายนีคือ บุญ กุศล ธัมมจริยา สมจริยา สุจริต กรณียะ เปนต้น
                                         ้
                                                                                     ็
                             ็
        ่
                                                                                         ้
       ซึงให้ผลเหมือนกันคือเปนเหตุให้บังเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ความดีในความหมายดังกล่าวนี
       เปนการกล่าวในความหมายแบบรวม  ส่วนความชั่วมีความหมายกว้างขว้างมากซึงสามารถกล่าวเปน
         ็
                                                                                        ็
                                                                          ่
       กลาง ๆ ได้ว่า “บาป” หมายถึง ความชั่วเปนสิ่งทีนาไปสูทางแห่งความเสื่อมและยังผู้กระท าบาปนั้น
                                          ็
                                                ่
                                                      ่

                              ็
       ให้ได้รับความเดือดร้อนเปนทุกข์ “บาป” ตามทีปรากฏในพระไตรปฎก หมายถึง “ความชั่ว”
                                                                   ิ
                                                 ่
       (วิ.จุล. 7/388/195)
              ราชบัณฑิตยสถาน (2546: 476) ให้ความหมายของ ค าว่า “ชั่วหรือบาป” ไว้ว่า การกระท าผิด
       หลักค าสอนหรือข้อห้ามทางศาสนา ความชั่ว ความมัวหมอง
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188