Page 180 -
P. 180

ั
                       ื
                                                                        ุ
                                        ิ
                                 ิ
                                    ์
                                                  ิ
                         ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   149




            4. พุทธญาณวิทยา


                    ค าว่า “ญาณวิทยา” มาจากภาษาอังกฤษว่า Epistemology (Episteme-ความรู้ กับ Logos-

            ศาสตร์) มีความหมายว่า ศาสตร์แห่งความรู้หรือทฤษฎีความรู้ (Theory of knowledge) ตรงกับค า
            ที่ใช้ในพระพุทธศาสนาว่า สัญญา วิญญาณ อภิญญา ญาณ ปญญา วิชชา เปนต้น  เพราะฉะนั้น
                                                                 ั
                                                                              ็
                                                                            ่
                                                                          ็
              ่
                                                                                       ์
                                                                        ้
            เมือพูดถึงความรู้จึงหมายถึง แนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้ผ่านค าดังกล่าวมานีเปนสือสัญลักษณถึงความรู้
                                           ็
            ในทางพระพุทธศาสนาแบ่งความรู้เปน 2 ระดับ คือ ความรู้ระดับโลกียะ และความรู้ระดับโลกุตตระ
            ส่วนแหล่งทีมาของความรู้ในของพุทธญาณวิทยามีอยู 3 ประการ คือ
                      ่
                                                        ่
                            ั
                    1. สุตมยปญญา คือ ความรู้ทีเกิดมาจากการได้ยินได้ฟง ถ่ายทอดมาจากผู้อื่น (ปรโตโฆสะ)
                                                                 ั
                                            ่
                                                                         ุ
                                                                          ฺ
            หรือเรียกตามปรัชญาอินเดียว่าศัพท์ประมาณ ตรงกับภาษาบาลีว่า อนสสาวิกา หมายถึง ความรู้
            เกิดมาจากการฟงตามกันมา
                          ั
                    2. จินตามยปญญา คือ ความรู้ทีเกิดมาจากการนึกคิดพิจารณาในเหตุและผลของ
                                ั
                                                 ่
                   ็
                                          ุ
            ความเปนจริงที่ได้รับรู้ เรียกว่า อนมานประมาณ (Inference) หมายถึง กระบวนการที่ท าให้ได้รับ
                                                                 ่
                                                              ็
                                                        ่
                                                                          ่
                           ่
                                                                                             ่
            ความรู้อย่างหนึง โดยอาศัยความรู้อีกอย่างหนึงมาเปนสือกลาง ซึงผ่านมาจากข้อมูลอืน
            ด้วยการคาดคะเนหาความเปนจริงโดยตรงกับค าว่าภาษาบาลีว่า ตกกี วีม สี หมายถึง ความรู้เกิดมา
                                                                     ฺ
                                    ็
            จากการใช้เหตุผลแสวงหาความจริง
                    3. ภาวนามยปญญา คือ ความรู้ทีเกิดมาจากประสบการณโดยตรงของภายในจิตตนเอง
                                ั
                                                ่
                                                                      ์
            อันเนืองมาจากมีญาณพิเศษหยั่งรู้ (Extra Sensory Perception) เข้าใจถึงสภาวะของสรรพสิ่ง
                 ่
                                      ็
            อย่างถูกต้อง และแท้จริง จัดเปนความรู้เชิงประจักษประมาณ (Empirical) โดยทางปรัชญาตะวันตก
                                                                     ็
                                                        ์
            เรียกว่า อัชฌัตติกญาณ (Intuition) หรือญาณทัศน (Insight) ซึงเปนความรู้ที่เกิดขึ้นภายหลังจาก
                                                                  ่
                                            ่
                        ์
            มีประสบการณแล้ว หมายถึง ความรู้ทีเกิดอภิญญาจิตหยั่งรู้สัจธรรม
                               ่
                    อีกประการหนึง สุนทรียศาสตร์ในพุทธปรัชญาเถรวาทต้องอาศัยความรู้ทางด้านญาณวิทยา
            มาช่วยตรวจสอบตัดสินความมีอยูจริง และคุณค่าของความงามนั้น โดยอาศัยโครงสร้าง
                                            ่
            ของกระบวนการรับรู้ทีมีอยู 2 ส่วน คือ
                                  ่
                               ่
   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184   185