Page 186 -
P. 186

ิ
                                    ์
                                                  ิ
                                                                        ุ
                                                                ั
                                 ิ
          โครงการหนังสออเล็กทรอนกส เฉลมพระเกียรตสมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร      ี
                         ิ
                       ื
                                           สัมมนาวิชาการและนิทรรศการ “พระไตรปิฎกบาลีสู่สากล”   155
                    ดังนั้น บ่อเกิดของการกระท าหรือแรงจูงใจที่ผลักดันให้บุคคลกระท าการต่าง ๆ นั้น ก็คือ
                                                     ็
                                                                                              ้
            1) โลภะ ความโลภ อยากได้สิ่งของของผู้อื่นมาเปนของตน เมื่อมีโลภะ ความไม่ดีอย่างอื่นก็เกิดมีขึน
                                     ่
            เช่น ความมักได้ ความตระหนี ความเห็นแก่ตัว 2) โทสะ ความโกรธ ความคิดร้ายผู้อื่น อันก่อให้เกิด
                                          ็
            การจองเวรการท าร้ายเข่นฆ่ากัน เปนต้น 3) โมหะ ความหลงไม่รู้จริงว่าอะไรผิดอะไรถูก อันก่อให้เกิด
                                               ้
                     ้
                                                                                       ็
                             ็
            ความหัวดือถือดี เปนต้น ทั้งสามอย่างนีเรียกว่าอกุศลมูล หรือต้นเหตุของความชั่ว เปนบ่อเกิด
                           ่
            ของการกระท าทีชั่ว ส่วนอโลภะ ความไม่โลภ อโทสะ ความไม่โกรธ และ อโมหะ ความไม่หลง
                                                                                       ็
            คือการรู้และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ตามความเปนจริง เรียกว่า กุศลมูลหรือต้นเหตุของความดี เปนบ่อเกิด
                                               ็
                                                               ่
                            ่
                                                                                          ่
                                                    ่
            ของการกระท าทีดี มีความถูกต้องดีงาม เมือใดก็ตามทีเราท ากรรมตามแรงผลักดันฝายดี
                                                                                          ่
                                                 ่
            การกระท านั้นก็เปนความดี เพราะเปนฝายแห่งความเจริญ หากท าด้วยแรงผลักดันฝายชั่ว
                             ็
                                              ็
                                      ่
                                                                         ิ
            การกระท านั้นก็ชั่ว เพราะเปนฝายแห่งความชั่ว ดังปรากฏในพระสุตตันตปฎกว่า
                                   ็
                               ่
                                   ่
                    “ธรรมที่จัดอยูในฝายแห่งความเสื่อม 3 ประการ ได้แก่ อกุศลมูล 3 ประการ คือ ความโลภ
            ความโกรธ ความหลง ธรรม 3 ประการที่กล่าวมานี จัดอยู่ในฝายแห่งความเสื่อม ธรรมที่จัดอยู่ในฝาย
                                                               ่
                                                      ้
                                                                                            ่
            แห่งความเจริญ 3 ประการ ได้แก่ กุศลมูล 3 ประการ คือ ความไม่โลภ ความไม่โกรธ ความไม่หลง และ
                                   ้
                                        ่
                                           ่
            ธรรม 3 ประการที่กล่าวมานีจัดอยูในฝายแห่งความเจริญ” (ที.ปา.11/393-394)
                                                              ็
                    ส าหรับพุทธจริยศาสตร์แล้ว ความโลภ โกรธ หลง เปนความชั่วในตัวมันเอง ในทางตรงกันข้าม
                                         ็
            ความไม่โลภ ไม่โกรธ ไม่หลง ก็เปนความดีในตัวมันเอง ค่า คือ ความดี ความชั่ว ในเจตสิกเหล่านี
                                                                                               ้
                                                     ่
                ่
            มีอยูในเชิงปรวิสัย (Objective) ไม่หวั่นไหวเปลียนแปลงไปตามบุคคลหรือสังคม สามอย่างแรก
            เปนรากเหง้าของความชั่ว สามอย่างหลังเปนรากเหง้าของความดี จึงกล่าวได้ว่ากุศลมูลดี เพราะ
                                                 ็
              ็
                                      ็
                                                      ็
                                                                     ็
              ็
            เปนสิ่งดี อกุศลมูลชั่วเพราะเปนสิ่งชั่ว เมือกุศลเปนแรงจูงใจหรือเปนเจตสิกย้อมใจให้กระท ากรรม
                                               ่
                                    ่
                                                                ่
            กรรมนั้นเปนกรรมดีเสมอ เมือท ากรรมโดยได้รับแรงผลักจากฝายอกุศล กรรมนั้นเปนกรรมชั่วเสมอ
                      ็
                                                                                  ็
                              ่
                                                         ็
                   ็
                                              ่
                                         ้
            ความเปนระเบียบสม าเสมอเช่นนีเองทีเราเรียกว่าเปนสัมบูรณนิยมคือ มีเกณฑ์มาตรฐานตายตัว
            ในการตัดสินว่าอะไรดีอะไรชั่ว
                    ในทีนีอกุศลมูลใช้ตัดสินความชั่ว กุศลมูลใช้ตัดสินความดี การทีบอกว่าเอากุศลมูลมาใช้ตัดสิน
                                                                       ่
                       ่
                        ้
            ความดีก็เหมือนกับบอกว่าเอานิพพานมาเปนเกณฑ์ตัดสินความดีนั่นเอง เพราะการกระท าทีมีบ่อเกิด
                                                                                        ่
                                                ็
                                                                              ์
                             ็
                                                   ่
                                          ่
            มาจากกุศลมูลนั้นเปนการกระท าทีด าเนินไปสูนิพพาน ซึ่งพระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธัมมจิตโต,
            2533: 28) อธิบายว่า
                                                                     ็
                    “...นิโรธหรือนิพพานอันได้แก่ภาวะที่ความทุกข์ดับถือเปนคุณค่าสูงสุดในชีวิต นิพพาน
                                                  ่
              ็
                  ้
            เปนเปาหมายของชีวิตชีวิตที่ดีคือชีวิตที่มุ่งสูนิพพาน ชีวิตที่ไม่ดีคือชีวิตที่ด าเนินสวนทางนิพพาน
   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190   191