Page 96 -
P. 96

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                      ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย

              แล้ว ก็ยังมีบุพบทอื่นที่สามารถใช้เหมือนค าว่า 把 ได้ เช่น 将 เช่น

              将门关好。(ปิดประตูให้ดี/สนิท)

                     ในการเรียนการสอนภาษาจีนในระดับเบื องต้นถึงขั นกลาง

              การเทียบค าว่า 把 กับค าว่า “เอา” ในภาษาไทยเป็นวิธีที่ช่วยให้
              ผู้เรียนเข้าใจได้ดีขึ น แต่โดยโครงสร้างแล้ว 把 เป็นบุพบท ในขณะที่

              “เอา” เป็นกริยา ประโยคที่มีค าว่า “เอา” ในภาษาไทยเป็นประโยค
              กริยาเรียง (ดูหัวข้อถัดไป) ในด้านการแปลนั น จะใช้ค าว่า “เอา”

              แทนที่ 把 ไม่ได้เสมอไป ในทางตรงกันข้าม ประโยคที่แปลด้วยค าว่า

              “เอา” ได้กลับมีจ านวนไม่มากนัก หากพิจารณาดูประโยคตัวอย่างที่
              ปรากฏในหนังสือไวยากรณ์จีนกลาง ของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.

              ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ซึ่งอธิบายประโยค bǎ อย่างละเอียดถึงหนึ่ง
              บทเต็มๆ ในบทที่ 9 จะพบว่าในการแปลประโยคตัวอย่างเป็น

              ภาษาไทยนั น มีการแปลว่า “เอา” เพียงไม่กี่ที่ เช่น เขาเอารถของ
              เขาขายไปแล้ว เขาไม่ได้เอาปากกากลับไป อย่าเอามือไปไว้ใน

              กระเป๋า เขาเอาจดหมายยื่นมาถึงตรงหน้าฉัน เขาเอาหนังสือวางซ้อน

              ขึ นไป เขาเอาหนังสือบรรดาที่มีทั งหมดมอบให้แก่ฉัน คุณเอาความ
              คิดเห็นของฉันไปไตร่ตรองดูก่อนเถอะ รวมแล้วเพียง 7 ประโยคจาก

              30 ประโยค ส่วนประโยคที่เหลือแปลด้วยกริยาอื่นหรือค าว่า “ท า
              เอา”(ประพิณ มโนมัยวิบูลย์, 2545, 191-197)


                     ผู้เขียนพบว่า ประโยค 把 ที่แปลด้วยค าว่า “เอา” ได้มักเป็น
              ประโยคที่เห็นการเคลื่อนที่ของกรรมของ 把 เป็นส่วนใหญ่ ในขณะที่

              หากไม่ใช้ค าว่า “เอา” ก็ได้เช่นกัน เช่น 他把那本书拿走了。


              บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ                                                      89
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101