Page 91 -
P. 91

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


              กนกพร นุ่มทอง

              “ต่าง/ต่างก็” “ล้วนแล้วแต่” หรือค าอื่นๆ หรืออาจตัดทิ งก็ได้ ประโยค

              นี สามารถแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “นวนิยายเกือบทุกเรื่องของกิมย้ง/

              นวนิยายของกิมย้งเกือบทุกเรื่องได้น ามาท าเป็นละครโทรทัศน์”

                     ประโยคที่ 6 上个月他被评为优秀员工。

                     ประโยคนี ผู้แปลมือใหม่มักแปลว่า “เดือนที่แล้วเขาถูกตัดสิน

              ให้เป็นพนักงานดีเด่น” ซึ่งการใช้ค าว่า “ถูก” ในภาษาไทยมักใช้กับ
              เรื่องไม่ดี ในขณะที่การได้เป็นพนักงานดีเด่นเป็นเรื่องดี อาจพิจารณา

              ปรับเป็น “เดือนที่แล้วเขาได้รับการตัดสิน/ได้รับการคัดเลือกให้เป็น
              พนักงานดีเด่น” ถ้าหากมีรางวัลด้วย อาจปรับเป็น “เดือนที่แล้วเขา

              ได้รับรางวัลพนักงานดีเด่น” หรือใช้ภาษาสั นๆ กระชับว่า “เดือนที่

              แล้วเขาได้เป็นพนักงานดีเด่น” ก็ได้

                     ประโยคที่ 7 《三国演义》于 1802 年被译成泰语。

                     ประโยคนี เป็นประโยคสั นๆ แต่แปลไม่ง่าย ผู้เรียนที่เรียน

              วิชาการแปลมักแปลไม่สละสลวย เช่น แปลว่า “นิยายสามก๊กปี
              1802 ถูกแปลเป็นภาษาไทย” “ซันกว๋อเหยนยี่ถูกแปลเป็นภาษาไทย

              ในปี ค.ศ. 1802” ประโยคนี มีประเด็นที่ต้องให้ความสนใจสาม
              ประเด็นคือ การแปล 被 การแปลเวลาและการแปลชื่อเรื่อง การ

              แปลไม่ใช่เรื่องไม่ดี ไม่จ าเป็นต้องใช้ค าว่า “ถูกแปล” การปรับเป็น

              “ได้รับการแปล” ก็ท าได้ แต่ก็ไม่จ าเป็นเช่นกัน สามารถใช้ค าสั นๆ
              กระชับว่า “แปลเป็นภาษาไทย” “แปลเป็นไทย” ได้ หรืออาจปรับ

              โครงสร้างประโยค ใช้ค าว่า “มีการแปล...เป็นภาษาไทย” ก็ได้ เรื่อง



              84                                                      บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96