Page 86 -
P. 86
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย
ต าแหน่งและประโยคแสดงการด ารงอยู่ ส่วนประโยค “คือ” ประโยค
“มี”(“有”字句)นั นผู้เขียนพบว่าไม่ค่อยมีประเด็นที่จะต้อง
อภิปรายในด้านการแปล จึงละไว้ไม่เอ่ยถึง ทั งนี ก่อนจะกล่าวถึงถึง
ปัญหาการแปล จะยกค าอธิบายลักษณะ รูปแบบพื นฐานและ
ประเภทของประโยคพิเศษต่างๆ มาจากหนังสือไวยากรณ์จีนเล่ม
ต่างๆ หากยกประโยคตัวอย่างมาจากหนังสือเล่มใดจะเขียนไว้ให้
ชัดเจน ส่วนที่ไม่ได้อธิบายเป็นส่วนที่ผู้เขียนแต่งขึ นเอง เช่นเดียวกับ
ประโยคที่ยกมาให้ผู้อ่านทดลองแปลเพื่อให้เห็นประเด็นปัญหา
ประโยคถูกกระท า แปลว่า “ถูก” ไม่ “ถูก” เสมอ
ประโยคถูกกระท าหมายถึงประโยคกรรมวาจก หนังสือ
ไวยากรณ์จีนกลาง อธิบายว่า “ประโยคกรรมวาจก คือ ประโยคที่
ย้ายเอากรรมมาไว้ต้นประโยค โดยมี ค าบุพบท 被 bèi 叫 jiào
หรือ 让 ràng ‘ถูก’ อยู่หน้าภาคแสดงของประโยค ประโยคเช่นนี ใน
ภาษาจีนมักเรียกว่า ประโยค‘被’字句 ‘bèi’ zì jù ประธานของ
ประโยค bèi คือผู้ถูกกระท าและกรรมหลังบุพบท bèi คือผู้กระท า
และส่วนใหญ่แล้วต้องการแสดงว่าผู้ถูกกระท าในที่นั นได้รับกริยาซึ่ง
ไม่เป็นที่ชอบใจ หรือกริยาซึ่งท าให้เกิดความเสียหาย” (ประพิณ
มโนมัยวิบูลย์, 2545, 198) “ประโยค bèi บางครั งก็มิได้ต้องการ
แสดงว่ากริยาในที่นั นเป็นที่ชอบใจหรือไม่ ซึ่งโดยทั่วไปจะได้แก่กรณี
ที่ประธานเป็นคนหรือสัตว์ และข้อความข้างเคียงอาจไม่ชัดเจนพอว่า
ตัวประธานนั นเป็นผู้กระท าหรือผู้ถูกกระท า ในกรณีนี จะใช้ประโยค
บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ 79