Page 87 -
P. 87

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


              กนกพร นุ่มทอง

              bèi เพื่อบ่งให้ชัดเจนว่าตัวประธานเป็นผู้ถูกกระท า” (ประพิณ

              มโนมัยวิบูลย์, 2545, 198)

                     ประโยคถูกกระท าหรือ 被字句 มีรูปแบบพื นฐานคือ ประธาน

              + 被/让/叫 + กรรม + กริยา + ส่วนประกอบอื่น ถ้าเป็นรูปปฏิเสธ
              ใช้ ประธาน +  没有+被/让/叫 + กรรม + กริยา + ส่วนประกอบ

              อื่น  ถ้าเป็นประโยคค าถาม ใช้ ประธาน +被/让/叫 + กรรม +
              กริยา + ส่วนประกอบอื่น + 吗?(杨玉玲,2011:266)ใน

              ประโยคถูกกระท า กรรมนั นคือผู้กระท าที่แท้จริง ส่วนประธานเป็น

              ผู้ถูกกระท า ในประโยคที่ใช้ค าว่า สามารถละผู้กระท าได้ เป็น
              ประธาน+被(ถูก) (+ กรรมซึ่งเป็นผู้กระท า ) + กริยา +

              ส่วนประกอบอื่น เช่น 自行车被(小偷)偷走了。(รถจักรยาน
              ถูก (ขโมย) ขโมยไปแล้ว) จะใส่ผู้กระท าหรือไม่ก็ได้ ส่วนในภาษา

              พูดนิยมใช้ 叫 หรือ 让 แทน 被 แต่จะไม่สามารถละผู้กระท าได้ ต้อง

              อยู่ในรูปแบบ ประธาน + 叫/让(ถูก) + ผู้กระท า + กริยา เช่น 自
              行车叫/让小偷偷走了。(รถจักรยานถูกขโมยขโมยไปแล้ว)

              นอกจากนี ในภาษาพูดยังมีการใช้ 被 ร่วมกับค าว่า 给 โดย 给 เป็น
              เพียงค าช่วย ไม่มีความหมายพิเศษใดๆ เช่น 孩子被妈妈给惯坏

              了。(เด็กถูกแม่ตามใจจนเสีย) ในภาษาเขียนมีการใช้ 被 ร่วมกับ
              所 ซึ่งในกรณีต้องมีกรรมตามหลังเสมอ กริยามักเป็นกริยาสอง

              พยางค์ ไม่มีส่วนประกอบอื่น เช่น 我被他的话所感动。(ฉัน
              ซาบซึ งใจในค าพูดของเขา)






              80                                                      บทที่ 5 การแปลประโยคที่มีลักษณะพิเศษ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92